The Model for Life Skills Promoting of the Elementary Schools in the Eastern Economic Corridor

Authors

  • Yuttichon Boonped Graduate School, Suan Dusit University
  • Chanasuek Nichanong Graduate School, Suan Dusit University

Keywords:

Life Skills Promoting, Eastern Economic Corridor, The Elementary Schools

Abstract

The objectives of this research were: 1) to study the current conditions of model for life skills promoting of the elementary schools in the Eastern economic corridor. 2) to study the level of life skills among students of the elementary schools in the Eastern economic corridor. and 3) to develop the model for life skills promoting of the elementary schools in the Eastern economic corridor. The mixed method research was used to obtain data. For the study of current conditions of model for life skills promoting, the participants for this study included 260 administrators. The research instrument for gathering data was the questionnaire which had IOC value between 0.60-1.00. The data were analyzed by using frequency and percentage. For the study of the level of life skills among students, the participants for this study consisted of 375 teachers. The research instrument for gathering data was the questionnaire which had IOC value between 0.80-1.00. The data were analyzed by using percentage, standard deviation and Priority Needs Index Technique (PNI) used to prioritize data. The development of promoting life skills was conducted in qualitative research by interviewing 6 experts. The obtained data were analyzed by using content analysis method. The result of this study revealed that 1) For the current conditions of model for life skills promoting, the school readiness level of model for life skills promoting was at the moderate level. The school also provided learner development activities such as D.A.R.E Teacher student clubs and Boy & Girl Scout clubs. The research pointed out that the overall problems relating students’ life skills promoting was at the moderate level. 2) The actual life skills of elementary schools’ students were at the high level and the expected of students’ life skills were at the highest level. The creativity thinking skills, problem solving skills and critical thinking skills were top priorities need, respectively. 3) There were five elements of model for life skills, including concepts and principles, purposes, process, monitoring, and key of success. The overall evaluation result of the model was at the high level.

References

กรมกิจการเด็กและเยาวชน. (2560). การศึกษารูปแบบการพัฒนาทักษะชีวิตและความพร้อมในการประกอบอาชีพของเด็กและเยาวชนนอกระบบการศึกษาในจังหวัดเขตเศรษฐกิจพิเศษ. [Online] Available: https:// dcy.go.th/webnew/upload/download/file_th_20201211151724_1.pdf. [ 2564, กรกฎาคม 1].

กชนันท์ โนรินทร์. (2558). การพัฒนารูปแบบการเรียนแบบผสมผสานที่ส่งเสริมทักษะชีวิตสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษา. ปริญญาการศึกษาดุษฎีบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยนเรศวร.

ธนัตถ์กานต์ ศรีเฉลียว. (2560). การพัฒนาทักษะชีวิตของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 โดยใช้การวิจัยปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม. วารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์. 11 (2), 61-74.

นภีพัชร เกษรา. (2562). การถอดบทเรียนความสำเร็จของโครงการครูแดร์ (D.A.R.E.) ประเทศไทย สำหรับการแก้ไขปัญหายาเสพติดในเด็กนักเรียน กรณีศึกษากองร้อยตำรวจตระเวนชายแดนที่ 117 อำเภอเมือง จังหวัดตราด. [Online] Available: http://www3.ru.ac.th/mpaabstract/index.php/abstractData/viewIndex/194. [2563, กรกฎาคม 8].

พัชรินทร์ รุจิชีพ. (2559). กลยุทธ์การพัฒนาทักษะชีวิตของนักเรียนในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากำแพงเพชร เขต 1 และเขต 2. ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร.

ไพฑูรย์ สินลารัตน์. (2558). ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ต้องก้าวให้พ้นกับดักของตะวันตก. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ภูรินท์ ชนิลกุล. (2563). รูปแบบการพัฒนาทักษะชีวิตของนักเรียนมัธยมศึกษา ในโรงเรียนเขตพื้นที่สูง จังหวัดตาก. วารสารชุมชนวิจัยมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา. 14 (4), 159-171.

มติชน. (2560). เด็กไทยวันนี้ !! นักวิชาการจุฬาฯ แฉสถานการณ์เด็กไทยมีปัจจัยเสี่ยง 10 ด้าน ‘ความรุนแรง-แม่วัยใส-ยาเสพติด’. [Online] Available: https://www.matichon.co.th/news/418603. [2560, ธันวาคม 2].

สมาน อัศวภูมิ. (2550). การใช้วิจัยพัฒนารูปแบบในวิทยานิพนธ์ระดับปริญญาเอก. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี. 2 (2), 76-85.

สุวิมล ว่องวานิช. (2558). การวิจัยประเมินความต้องการจำเป็น (พิมพ์ครั้งที่ 3 ฉบับปรับปรุง). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สุภาพร วาปีโส. (2559). การพัฒนาระบบการส่งเสริมทักษะชีวิตนักเรียนระดับมัธยมศึกษาในโรงเรียนเอกชนการกุศล. ปริญญาการศึกษาดุษฎีบัณฑิต คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

สำนักบริหารยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออก. (2560). แผนพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคตะวันออก (ชลบุรี ระยอง จันทบุรี ตราด) พ.ศ. 2561-2564 (ฉบับล่าสุด). ชลบุรี: สำนักบริหารยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออก.

สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดชลบุรี. (2560). แผนพัฒนาการศึกษา พ.ศ. 2562–2565 จังหวัดชลบุรี. ชลบุรี: สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดชลบุรี.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2559). แนวทางการพัฒนาทักษะชีวิต. กรุงเทพฯ: สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2558). แนวทางการจัดค่ายเสริมสร้างทักษะชีวิตเด็กไทย “ปัญหาหยุดยั้งด้วยพลังเด็กและเยาวชน”. กรุงเทพฯ: ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.

Krejcie, R. V. & Morgan, D. W. (1970). Determining Sample Size for Research Activities. Educational and Psychological Measurement. 30 (3), 607-610.

World Health Organization. (1994). Life Skill Education in School. Geneva: World HealthOrganization.

World Health Organization. (1997). Life Skills Education For Children and Adolescents in School. Geneva: World Health Organization.

Downloads

Published

2023-08-03

Issue

Section

Research Articles