นวัตกรรมการบริหารการศึกษาขั้นพื้นฐานยุคเทคโนโลยีดิจิทัล

ผู้แต่ง

  • ทัตธนันท์ พุ่มนุช วิทยาลัยนวัตกรรมการจัดการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์
  • ผู้ช่วยศาตราจารย์ ดร.วรรณรี ปานศิริ วิทยาลัยนวัตกรรมการจัดการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์
  • ดร.ทัศนีย์ ช่อเทียนทิพย์ วิทยาลัยนวัตกรรมการจัดการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์

คำสำคัญ:

นวัตกรรม, การบริหาร , การศึกษาขั้นพื้นฐาน , ยุคเทคโนโลยีดิจิทัล

บทคัดย่อ

บทความวิชาการนี้วัตถุประสงค์เพื่อมุ่งศึกษาวิธีการบริหารที่เหมาะสม โดยศึกษาและวิเคราะห์แนวความคิดนวัตกรรมการบริหารการศึกษาขั้นพื้นฐานในยุคเทคโนโลยีดิจิทัล และได้แนวทางการส่งเสริมนวัตกรรมในการบริหารการศึกษาขั้นพื้นฐานในยุคเทคโนโลยีดิจิทัล สอดคล้องกับยุทธศาสตร์สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานที่มุ่งสร้างผลผลิตที่มีคุณภาพตามกรอบ ซึ่งปัจจุบันมีนวัตกรรมใหม่ ๆ เข้ามาเปลี่ยนแปลงการใช้ชีวิตของผู้คนในโลกและเทคโนโลยีก็ได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่องจนมีสิ่งประดิษฐ์เกิดขึ้นมาหลากหลาย ผลจากการศึกษาวิเคราะห์ พบว่า เทคโนโลยียุคดิจิทัลมีความสำคัญต่อการบริหารการศึกษาสามารถเชื่อมต่อระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตได้ ภายใต้การจัดเก็บข้อมูล การแลกเปลี่ยนข้อมูล ในระบบการจัดข้อมูลบนคลาวน์ การติดต่อสื่อสาร กำหนดตารางนัดหมาย การมอบหมายงาน รับ-ส่งเอกสารการประชุมผ่านระบบออนไลน์ ดังนั้น ผู้บริหารการศึกษาจำเป็นต้องพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงและปรับเปลี่ยนแนวทางการดำเนินงานตลอดเวลา บทความวิชาการนี้ ผู้เขียนนำเสนอแนวทางการส่งเสริมนวัตกรรมในการบริหารการศึกษาขั้นพื้นฐาน ซึ่งเป็นกระบวนการที่สำคัญในการพัฒนาระบบการศึกษา หากองค์กรที่มีการสร้างนวัตกรรมที่นำทรัพยากรของตนทำให้เกิดประโยชน์หรือผลิตผลต่อหน่วยงานที่เพิ่มขึ้น จะสามารถสร้างสรรค์นวัตกรรมการบริหารหน่วยงาน ยุคดิจิทัลที่มีประสิทธิภาพและใช้เป็นแนวทางในการพัฒนานวัตกรรมการบริหารการศึกษาขั้นพื้นฐานยุคเทคโนโลยีดิจิทัลที่ส่งผลดีต่อสังคมและประเทศชาติให้มีความเจริญก้าวหน้าเป็นที่ยอมรับต่อไป

References

กีรติ ยศยิ่งยง. (2552). องค์กรแห่งนวัตกรรม แนวคิด และกระบวนการ. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์หาวิทยาลัย.

จุฬาลักษณ์ โสระพันธ์. (2566). บทบาทของผู้บริหารการศึกษายุคดิจิทัล. สืบค้นเมื่อ 16 สิงหาคม 2566 จาก https://shorturl.asia/Xy1GY.

ไชย ณ พล อัครศุภเศรษฐ์. (2550). การสร้างสรรค์นวัตการ: เพื่อศักยภาพการแข่งขันสู่โลกอนาคต. กรุงเทพฯ:

เคล็ดไทย.

ทิม แคสเทลล์. (2566). นวัตกรรม คือ ทุกเรื่องควรรู้ความสำคัญของนวัตกรรม. สืบค้นเมื่อ 26 กุมภาพันธ์ 2566 จาก https://www.goodmaterial.co/what-is-innovation.

ธีระ วัฒนากุล และธราธร รัตนนฤมิตศร. (2566). นวัตกรรมภาครัฐ: จุดคานงัดพลิกโฉมประเทศไทย. สืบค้นเมื่อ

กุมภาพันธ์ 2566 จาก https://www.bangkokbiznew.com/blogs/columnist/121579.

พินิจ มีคำทอง. (2561). กูเกิลแอปพลิเคชั่น: นวัตกรรมทางการศึกษาสำหรับครูยุคสตวรรษที่ 21. วารสารวิชาการและวิจัย มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. 8(3), 74-75.

วรภัทร์ ภู่เจริญ. (2550). การบริหารนวัตกรรมอย่างยั่งยืนและพอเพียง. กรุงเทพฯ: สามลดา.

วรวุฒิ รามจันทร์. (2555). นวัตกรรมการศึกษาและการเรียนรู้ อย่างสร้างสรรค์ใน สถาบันการศึกษายุคใหม่. วารสารร่มพฤกษ์ มหาวิทยาลัยเกริก. 30(1), 124-138.

วิชัย วงษ์ใหญ่ และมารุต พัฒผล. (2562). การพัฒนาทักษะสร้างสรรค์นวัตกรรม. กรุงเทพฯ: ศูนย์ผู้นำพัฒนานวัตกรรมหลักสูตรและการเรียนรู้.

วัชราภรณ์ อมรศักดิ์. (2563). นวัตกรรมการบริหารวิชาการโรงเรียนมัธยมศึกษาตามแนวคิดการนำสะเต็มศึกษาไปใช้ในชีวิตจริง. วิทยานิพนธ์การศึกษาตามหลักสูตรปริญญาครุศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ศรเนตร อารีโสภณพิเชฐ. (2561). นวัตกรรมการบริหารการศึกษาสู่การเปลี่ยนแปลง 4 เรียนรู้. วารสารครุศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 46(4), 534-553.

สมบัติ นามบุรี. (2562). นวัตกรรมและการบริหารจัดการ. วารสารวิจัยวิชาการ. 2(2), 121-134.

พักตร์ผจง วัฒนสินธุ์, อัจฉรา จันทร์ฉาย, ประกอบ คุปรัตน์. (2553). นวัตกรรม: ความหมาย ประเภท และความสำคัญ ต่อการเป็นผู้ประกอบการ. วารสารบริหารธุรกิจมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. 33(128), 49-65.

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสุโขทัย.(2566.) นวัตกรรมทางการศึกษา Educational Innovation. สืบค้นเมื่อ 16 สิงหาคม 2566 จาก https://elearning.sesaoskt.go.th/course/view.php?id=14.

Bezdrob, M., & Sunje, A. (2014). Management Innovation–designing and Testing a Heoretical Model. South East European Journal of Economics and Business Special Issue ICSE Conference. 9(1), 16-29.

D. School. (2005). Welcome to the Virtual Crash Course in Design Thinking. Retrieved on August 9, 2023 from http://www.v.vibdoc.com/welcome-to-the-virtual-crash-course-in-design-thin(1).pdf.

Damanpour, F. (1987). The Adoption of Technological, Administrative, and Ancillary Innovations: Impact of Organizational Factors. Journal of Management. 13(4), 675-688.

Hamel, Gary. (2006). The Why, What, and How of Management Innovation. Harvard Business Review. 84(2), 72-84.

Kim. (2020). The Analysis of Innovation Management in Google. Journal of Economics and Management Sciences. 3(4), 10-19.

Roger, E. M. (1983). Diffusion of Innovations (3rd ed.). New York: A Division of Macmillan Publishing.

Taylor. (2017). What is Innovation? A Study of the Definitions, Academic Models and Applicability of Innovation to an Example of Social Housing in England. Open Journal of Social Sciences. 5(11), 128-146.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2025-02-14

How to Cite

พุ่มนุช ท. ., ปานศิริ ว. ., & ช่อเทียนทิพย์ ท. . (2025). นวัตกรรมการบริหารการศึกษาขั้นพื้นฐานยุคเทคโนโลยีดิจิทัล. วารสารวิชาการบัณฑิตวิทยาลัยสวนดุสิต, 21(1), 157–169. สืบค้น จาก https://so19.tci-thaijo.org/index.php/SDUGSAJ/article/view/77