แนวทางการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุโดยใช้ทุนทางภูมิปัญญา และวัฒนธรรม เพื่อลดความเหลื่อมล้ำในท้องถิ่น: กรณีศึกษาชุมชนบ้านห้วยหว้า ตำบลโนนฆ้อง อำเภอบ้านฝาง จังหวัดขอนแก่น
คำสำคัญ:
ผู้สูงอายุ, ทุนทางภูมิปัญญาและวัฒนธรรม , ความเหลื่อมล้ำบทคัดย่อ
การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) สำรวจข้อมูลทุนทางภูมิปัญญา และวัฒนธรรมของผู้สูงอายุในชุมชน
บ้านห้วยหว้า 2) ศึกษาแนวทางในการพัฒนาศักยภาพทุนทางภูมิปัญญา และวัฒนธรรมของผู้สูงอายุเพื่อลดความเหลื่อมล้ำในท้องถิ่น การศึกษานี้ใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพด้วยการสัมภาษณ์กลุ่มตัวอย่าง 12 คน ผลการศึกษาพบว่า ข้อมูลทุนทางภูมิปัญญา และวัฒนธรรมของผู้สูงอายุในชุมชนบ้านห้วยหว้า ได้แก่ 1) วรรณกรรมพื้นบ้าน และภาษา (ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น ) 2) ศิลปะการแสดง (หมอลำสินไซ กลองยาว รำวงคองก้า) 3) แนวปฏิบัติทางสังคมพิธีกรรม ประเพณี และเทศกาล (ฮีต 12 คอง 14) 4) ความรู้ และการปฏิบัติเกี่ยวกับธรรมชาติ และจักรวาล (อาหาร และการแพทย์พื้นบ้าน) 5) งานช่างฝีมือดั้งเดิม (การทอผ้าไหม การทอประคตเอวไหม เครื่องจักสานหัตถกรรมท้องถิ่น) 6) การเล่นพื้นบ้าน
กีฬาพื้นบ้าน และศิลปะการต่อสู้ป้องกันตัว (การเล่นวงตีนเกวียน, การเล่นต่อไก่) ทั้งนี้แนวทางในการพัฒนาศักยภาพทุนทางภูมิปัญญา และวัฒนธรรมของผู้สูงอายุ เพื่อลดความเหลื่อมล้ำในท้องถิ่น ได้แก่ 1) การพัฒนากลุ่มผลิตภัณฑ์ และสินค้าท้องถิ่น (อาหาร สิ่งทอ สินค้าวัฒนธรรม) 2) การพัฒนากลุ่มบริการ และการเพิ่มมูลค่าทางวัฒนธรรม (การศึกษา/ท่องเที่ยว ด้านการแพทย์แผนไทยโบราณ, ศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่น,การละเล่นพื้นบ้าน ฯลฯ)
References
กรมกิจการผู้สูงอายุ. (2562). มาตรการขับเคลื่อนระเบียบวาระแห่งชาติ เรื่อง สังคมสูงอายุ 6 Sustainable 4 Change. กรุงเทพฯ: กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์.
กรมส่งเสริมวัฒนธรรม. (2558). คู่มือการจัดทำข้อเสนอโครงการในการรวบรวมและจัดเก็บข้อมูล มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมประจำปีพุทธศักราช 2559. กรุงเทพฯ : สถาบันวัฒนธรรมศึกษา.
กรมส่งเสริมวัฒนธรรม. (2554). ทำเนียบองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดีเด่นด้านการดำเนินงานวัฒนธรรม ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๕๔. กรุงเทพฯ: ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
กนิษฐา แย้มโพธิ์ใช้. (2565). การสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ชุมชนด้วยทุนทางวัฒนธรรมและภูมิปัญญาของผู้สูงอายุในพื้นที่ตำบลตลาดใหม่ อำเภอวิเศษชัยชาญ จังหวัดอ่างทอง. วารสารมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนครพนม. (12)1, 331-342.
กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์. (2559). รายงานผลการสังเคราะห์งานวิจัยด้าน ผู้สูงอายุ พ.ศ. 2549-2558. กรุงเทพฯ: กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์.
พลเดช ปิ่นประทีป. (2562). ความเหลื่อมล้ำด้านสาธารณสุข ใน ก้าวข้ามความเหลื่อมล้ำ: ความท้าทายในสังคมไทย. กรุงเทพฯ: สถาบันพระปกเกล้า.
พิชิต พิทักษ์เทพสมบัติ. 2550. การสำรวจโดยการสุ่มตัวอย่าง: ทฤษฎีและปฏิบัติ. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: เสมาธรรม.
พิมพงา เพ็งนาเรนทร์. (2560). การมีส่วนร่วมของชุมชนในการพัฒนาอาชีพเพื่อเพิ่มรายได้ของผู้สูงอายุ. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี.
เพ็ญจันทร์ ประดับมุข-เชอร์เรอ และคณะ. (2557). โครงข่ายการคุ้มครองทางสังคม: การสร้างภูมิคุ้มกันภัยทางสังคมให้แก่ผู้สูงอายุ. รายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ์ คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล.
ปิยฉัตร กลิ่นสุวรรณ. (2561). ความสัมพันธ์ระหว่างทุนทางสังคม ทุนทางวัฒนธรรมกับการส่งเสริมสุขภาวะผู้สูงอายุ. วารสารศิลปศาสตร์ปริทัศน์. 13(25), 1-12
ภัทรา สุขะสุคนธ์. (2563). การพัฒนากลยุทธ์การตลาดผลิตภัณฑ์ชุมชนของกลุ่มผู้สูงอายุในจังหวัดสมุทรปราการ. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี.
ภัศร ชัยวัฒน์ และสวรัย บุณยมานนท์. (2554). การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรกับความเหลื่อมล้ำทางรายได้ในประเทศ. นครปฐม: มหาวิทยาลัยมหิดล.
สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2558). สรุปผลที่สำคัญการทำงานของผู้สูงอายุในประเทศไทย พ.ศ. 2557. กรุงเทพฯ: สำนักสถิติเศรษฐกิจและสังคม สำนักงานสถิติแห่งชาติ.
สมชัย จิตสุชน. (2558). ความเหลื่อมล้ำในสังคมไทย: แนวโน้ม นโยบายและแนวทางการขับเคลื่อนนโยบาย. กรุงเทพฯ: ธนาคารแห่งประเทศไทย.
สุภางค์ จันทวานิช. (2561). วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ. (พิมพ์ครั้งที่ 24). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุภางค์ จันทวานิช. (2551). การวิเคราะห์ข้อมูลในการวิจัยเชิงคุณภาพ. (พิมพ์ครั้งที่ 8). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุนทรชัย ชอบยศ. (2563). แนวทางการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุโดยใช้ทุนทางภูมิปัญญาและวัฒนธรรมเพื่อลดความเหลื่อมล้ำในท้องถิ่น: กรณีศึกษาชุมชนบ้านห้วยหว้า ตำบลโนนฆ้อง อำเภอบ้านฝาง จังหวัดขอนแก่น. รายงานวิจัย. วิทยาลัยการเมืองการปกครอง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
สุนทรชัย ชอบยศ. (2562). ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น: ว่าด้วยแนวคิดและแนวทางเชิงประยุกต์เพื่อการพัฒนาท้องถิ่นที่ยั่งยืน. มหาสารคาม: โครงการผลิตและเผยแพร่ตำราและผลงานวิชาการ วิทยาลัยการเมืองการปกครอง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
สุนทรชัย ชอบยศ และคณะ. (2562). กลอนลำและประวัติศาสตร์หมอลำสินไซบ้านห้วยหว้า ตำบลโนนฆ้อง อำเภอบ้านฝาง จังหวัดขอนแก่น. มหาสารคาม: อภิชาตการพิมพ์.
สุนทรชัย ชอบยศ และคณะ. (2562). แนวทางการสร้างความร่วมมือขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการส่งเสริมกิจกรรมผู้สูงอายุในการอนุรักษ์และประยุกต์ใช้มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของท้องถิ่น: กรณีศึกษาการอนุรักษ์หมอลำสินไซ ตำบลโนนฆ้อง อำเภอบ้านฝาง จังหวัดขอนแก่น. รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.).
สุนทรชัย ชอบยศ และคณะ. (2563). สภาพปัญหาและแนวทางการพัฒนาผู้สูงอายุ ตำบลโนนฆ้อง อำเภอบ้านฝาง จังหวัดขอนแก่น. รายงานโครงการจ้างงานประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19). สำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม.
Netuveli, G. and Blane, D. (2008). Quality of Life in Older Ages. British Medical Bulletin: Oxford University Press.
Davidson, G., Irvine, R., Corman, M., Kee, F., Kelly, B., Leavey, G., & McNamee, C. (2017). Measuring the Quality of Life of People with Disabilities and their Families: Scoping Study Final Report. Department for Communities. Queen's University Belfast.
Halaweh, H., Dahlin-Ivanoff, S., Svantesson, U. & Willen, C. (2018). Perspectives of Older Adults on Aging Well: A Focus Group Study. Journal of Aging Research. Retrieved February 14, 2023 from: https://doi.org/10.1155/2018/9858252.
ISSC, IDS & UNESCO. (2016). World Social Science Report 2016, Challenging Inequalities: Pathways to a Just World. UNESCO Publishing: Paris.
United Nations. (2023). World Social Report 2023: Leaving No One Behind in an Ageing World. Department of Economic and Social Affairs: United Nations.
UNESCO. (2003). Convention for the Safeguarding of the Intangible Cultural Heritage. Paris: UNESCO.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 วารสารวิชาการบัณฑิตวิทยาลัยสวนดุสิต

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.