คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้บริหารสถานศึกษาในยุคนิวนอร์มอล ตามการรับรู้ของครู กลุ่มรัตนโกสินทร์ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา กรุงเทพมหานคร

ผู้แต่ง

  • ศิริพร นาใจยงค์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง
  • รองศาสตราจารย์อุไร สุทธิแย้ม คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง

คำสำคัญ:

ผู้บริหารสถานศึกษา, คุณลักษณะอันพึงประสงค์ , ยุคนิวนอร์มอล

บทคัดย่อ

งานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา และเปรียบเทียบคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้บริหารสถานศึกษาในยุคนิวนอร์มอล ตามการรับรู้ของครูกลุ่มรัตนโกสินทร์สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากรุงเทพมหานคร โดยเป็นการวิจัยเชิงปริมาณ กลุ่มตัวอย่างคือ ครูผู้สอนจำนวน 210 คน โดยใช้ตารางสำเร็จรูปของ Cohen & Morrison (2018) และการสุ่มแบบแบ่งชั้นภูมิตามขนาดของสถานศึกษา และเทียบสัดส่วน และใช้วิธีการสุ่มอย่างง่าย และเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามความคิดเห็น การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือวิจัยด้านความตรง อยู่ระหว่าง 0.80–1.00 ทั้งฉบับ เท่ากับ 0.974 และค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ .964 และค่าอำนาจจำแนกอยู่ระหว่าง 0.401-0.850 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ คือ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัย พบว่า (1) การรับรู้ของครูที่มีต่อคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้บริหารสถานศึกษาในยุคนิวนอร์มอล สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากรุงเทพมหานคร ได้แก่ ด้านการติดต่อสื่อสารด้านความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ด้านการมีวิสัยทัศน์ และด้านคุณธรรมจริยธรรม อยู่ในระดับมาก (2) การรับรู้ของครูต่อคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้บริหารสถานศึกษาในยุคนิวนอร์มอล สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากรุงเทพมหานคร ในภาพรวมจำแนกตามประสบการณ์ในการทำงาน ด้านคุณธรรมจริยธรรม ด้านการมีวิสัยทัศน์ และด้านการติดต่อสื่อสาร แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และผลการเปรียบเทียบจำแนกตามขนาดสถานศึกษา ภาพรวมไม่แตกต่างกัน และรายด้านการมีวิสัยทัศน์ แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05

References

กุลจิรา รักษนคร. (2563). คุณลักษณะผู้บริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21. Journal of Modern Learning Development. 5(3), 328-344.

ชนิดา สรสัมฤทธิ์. (2564). คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้บริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 ของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากรุงเทพมหานคร. วารสารการบริหารและนิเทศการศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. 12(1), 61-69.

จิตแข เทพชาตรี. (2563). New Normal ไลฟ์สไตล์ใหม่ บนโลกใบเดิม. สืบค้นเมื่อ 5 มกราคม 2565 จาก http://www.samitivejhospitals.com/th/article/detail/new-normal.

ณิชา พิทยาพงศกร. (2564). New Normal ของการศึกษาไทยคืออะไร เมื่อการเรียนทางไกลไม่ใช่คำตอบ. สืบค้นเมื่อ 3 มกราคม 2565 จาก https://tdri.or.th/2020/05/desirable-new-normal-for-thailand-education.

ธีรนุช วารีรักษ์. (2563). คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้บริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 ตามการรับรู้ของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 1 กรุงเทพมหานคร. รายงานการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 4 ศึกษาเพื่อพัฒนาการเรียน กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา.

นิภาพร รอดไพบูลย์. (2565). ทักษะการบริหารในศตรวรรษที่ 21 ของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสระแก้ว. วิทยานิพนธ์ศึกษามหาบัณฑิต คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา.

นงเยาว์ สิงหทองกูล. (2564). การศึกษาภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 1. วารสารวิชาการ มจร บุรีรัมย์. 6(1), 153.

ปัญญา บัวบาน. (2565). คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้บริหารสถานศึกษาตามทัศนะของครู กลุ่มสหวิทยาเขตชลบุรี 1 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาชลบุรี-ระยอง. วิทยานิพนธ์ศึกษามหาบัณฑิต คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา.

พนิดา รัษฎาเพชร. (2565). คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้บริหารสถานศึกษาตามความคิดเห็นของข้าราชการสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพัทลุง เขต 2. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 13 วันที่ 12 พฤษภาคม 2565 (2354–2368). สงขลา: มหาวิทยาลัยหาดใหญ่.

พรทิพย์ สุขเอียด. (2562). คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้บริหารตามทัศนะของครูสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 3. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต คณะศึกษาศาสาตร์ มหาวิทยาลัยหาดใหญ่.

มณฑาทิพย์ นามนุ. (2561). ทักษะของผู้บริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาปทุมธานี เขต 2. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.

วิชัย วงษ์ใหญ่ และมารุต พัฒผล. (2563). การออกแบบการเรียนรู้ใน New Normal. กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

ศวัสมน แป้นทิม. (2563). คุณลักษณะผู้บริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 ที่ส่งผลต่อคุณภาพผู้เรียนในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 2. วารสารเซนต์จอห์น. 23(32), 180-197.

สุภาภรณ์ พรหมบุตร. (2563). New normal กับวิถีชีวิตที่เปลี่ยนแปลง. สืบค้นเมื่อ 6 มกราคม 2565 จาก https://dsp.dip.go.th/th/category/2017-11-27-08-04-02/2020-06-29-14-39-49.

อิ่มทิพย์ อาจปักษา. (2564). คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้บริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 ตามความคิดเห็น ของข้าราชการครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2 . วารสารมนุษยศาสตร์ และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา. 4(1), 6-15.

Cohen, L., Manion, L., & Morrison, K. (2018). Research Methods in Education (8th Ed.). London: Routledge.

Hersey & Blanchard, (1970). Management of Organizational: Utilizing Human Resources. New York: McGraw – Hill.

Hersey, P., Blanchard, K.H., & Johnson, D.E. (2001). Management Of organizational (6th Ed.). New Jersey: Prentice-Hall.

William, J. Reddin. (1970). Managerial Effectiveness. New York: McGraw-Hill Book Co.

Ouchi, William G. (1991). Theory Z: How american Business Can Meet the Japanese Challenge. (9th Ed.). Reading, MA: Addison-Wesley.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-08-22

How to Cite

นาใจยงค์ ศ. ., & สุทธิแย้ม อ. . (2024). คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้บริหารสถานศึกษาในยุคนิวนอร์มอล ตามการรับรู้ของครู กลุ่มรัตนโกสินทร์ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา กรุงเทพมหานคร. วารสารวิชาการบัณฑิตวิทยาลัยสวนดุสิต, 20(2), 49–63. สืบค้น จาก https://so19.tci-thaijo.org/index.php/SDUGSAJ/article/view/50