ระบบบริการสุขภาพด้านการส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ และการดูแลเด็กปฐมวัย ในหน่วยบริการปฐมภูมิ
คำสำคัญ:
การส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่, การดูแลเด็กปฐมวัย, ระบบบริการสุขภาพ, หน่วยบริการปฐมภูมิบทคัดย่อ
งานวิจัยแบบผสมผสานแบบคู่ขนานนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อสำรวจระบบบริการ การส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่และการดูแลเด็กปฐมวัยในหน่วยบริการปฐมภูมิแห่งหนี่ง ในเขตสุขภาพที่ 5 การเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสอบถามมาตรประมาณค่า 5 ระดับ 12 ข้อ สำหรับสำรวจระบบบริการ 5 ด้าน ได้แก่ 1) การเข้าถึงบริการ 2) ระบบสนับสนุนบริการ 3) สมรรถนะของผู้ให้บริการ 4) การให้บริการต่อเนื่อง และ5) ผลลัพธ์จากบริการ และแบบสอบถามปลายเปิด การสัมภาษณ์เชิงลึก และการทบทวนวรรณกรรม ตัวอย่างด้านนมแม่ คือ 1) เจ้าหน้าที่หน่วยบริการปฐมภูมิ (n=1) 2) อาสาสมัครประจำหมู่บ้าน (อสม.) สุ่มอย่างง่าย วิเคราะห์อำนาจ (n=120) 3) มารดาหลังคลอดมีบุตร 0-6 เดือน (n= 43) สุ่มอย่างง่าย จาก 30% ของประชากร ตัวอย่างด้านเด็กปฐมวัย คือ 1) เจ้าหน้าที่หน่วยบริการปฐมภูมิ (n=1) 2) อสม. ใช้ตัวอย่างเดิม 3) ครูประจำศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก (N=17) เลือกแบบเจาะจง 4) ผู้ปกครองเด็กปฐมวัย วิเคราะห์อำนาจ และสุ่มอย่างง่าย (n=118) วิเคราะห์ข้อมูลด้วยความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ตรวจสอบแบบสามเส้าด้านวิธีการ และวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ผลการสำรวจระบบบริการ 5 ด้านในการส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ในทุกตัวอย่างอยู่ในระดับดีถึงดีมาก ยกเว้นเจ้าหน้าที่หน่วยบริการปฐมภูมิประเมินในระดับปานกลางถึงดี เจ้าหน้าที่หน่วยบริการปฐมภูมิ และอสม. ได้รับต้องการการพัฒนาความรู้ และทักษะด้านนมแม่เนื่องจากไม่ได้รับการอบรมในระยะ 3 ปี ผลการสำรวจระบบบริการ 5 ด้านในการดูแลเด็กปฐมวัยอยู่ในระดับดีถึงดีมาก โดยเจ้าหน้าที่หน่วยบริการปฐมภูมิ และอสม. ได้รับการพัฒนาตนเองด้านเด็กปฐมวัยอย่างต่อเนื่อง แต่ยังพบปัญหาการสื่อสาร ผลจากการระบาดของโรค โควิด-19 ทำให้การเข้าถึงบริการ และการให้บริการต่อเนื่องได้รับผลกระทบทั้งในด้านการส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่และการดูแลเด็กปฐมวัย
References
กระทรวงสาธารณสุข. (2564). คู่มือมาตรฐานระบบบริการสุขภาพ ปี 2564. สืบค้นเมื่อ 29 พฤษภาคม 2565 จาก https://ricd.go.th/webth2/wp-content/uploads/2021/06/Health-Service-System-Standards-Year-64.pdf.
กระทรวงสาธารณสุข. (2565). ร้อยละของเด็ก 0-5 สงสัยพัฒนาการล่าช้า. สืบค้นเมื่อ 15 ตุลาคม 2565 จาก https://hdcservice.moph.go.th/hdc/main/index.php.
กรมอนามัย กระทรวงสาธารณาสุข. (2564). ระบบสารสนเทศสนับสนุนด้านการส่งเสริมสุขภาพและอนามัย. สืบค้นเมื่อ 29 พฤษภาคม 2565 จาก https://dashboard.anamai.moph.go.th/dashboard/postnatal/changwat?year=2021&kid=6&rg=05.
กรมอนามัย กระทรวงสาธารณาสุข. (2565). ระบบสารสนเทศสนับสนุนด้านการส่งเสริมสุขภาพและอนามัย. สืบค้นเมื่อ 10 กรกฎาคม 2566 จาก https://dashboard.anamai.moph.go.th/dashboard/postnatal/changwat?year=2022&kid=6&rg=05.
ขนิษฐา เมฆกมล. (2561). การส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่: แนวปฏิบัติในชุมชน. วารสารเครือข่ายวิทยาลัยพยาบาลและการสาธารณสุขภาคใต้, 5(3), 274-286.
ณฐนนท บริสุทธิ์. (2563). การศึกษาสถานการณ์และทิศทางการพัฒนา อสม. ในยุคประเทศไทย 4.0. สืบค้นเมื่อ 29 พฤษภาคม 2565 จาก http://phc.moph.go.th/www_hss/data_center/dyn_mod/the_study_of_situation_and_village_health_volunteer_development_2.pdf.
บุษบา สงวนประสิทธิ์ นันทิยา ปรีชาเสถียร เกตุนรินทร์ บุญคล้าย และอารีย์ แสงรัศมี. (2562). ระบบบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิในเขตเมืองเพื่อการเข้าถึงบริการ: การทบทวนและวิเคราะห์วรรณกรรมเชิงบรรยายอย่างเป็นระบบ. วารสารพยาบาลทหารบก, 20(3), 166-174.
เพชรา ทองเผ้า, ดาราพร รักหน้าที่, กาญจนา ปัญญาธร และวัลภาศรี บุญพิมพ์สวย. (2022). ความรู้ ทัศนคติ และการมีส่วนร่วมของอาสาสมัครสาธารณสุข ประจำหมู่บ้านในการส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่. วารสารสุขภาพและ การศึกษาพยาบาล, 28(1), e257524-e257524.
นงลักษณ์ วิรัชชัย. (2555). วิธีการที่ถูกต้องและทันสมัยในการกำหนดขนาดตัวอย่าง. สืบค้นเมื่อ 10 ตุลาคม 2564 จาก http://lllskill.com/web/files/GPower.pdf.
เนตรรัชนี กมลรัตนานันท์. (2561). น้ำนมแม่: โภชนาหารแห่งมวลมนุษย์. กรุงเทพฯ: ศูนย์บริการสื่อและสิ่งพิมพ์กราฟฟิคไซท์ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต.
ศศิกานต์ กาละ รังสินันท์ ขาวนาค กนกวรรณ เธียรมนตรี นิตยา ไชยรัตน์ ศศิมา ศรีเพ็ชร และอิงหทัย ดำจุติ. (2561). การพัฒนาโปรแกรมฝึกอบรมจิตอาสาเพื่อส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ในชุมชน. วารสารเครือข่ายวิทยาลัยพยาบาลและการสาธารณสุขภาคใต้, 5(2), 16-29.
สุภาภรณ์ ปัญหาราช. (2562). รูปแบบการพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลหลักและจิตอาสานักส่งเสริมพัฒนาการเด็ก 0–5 ปี ในชุมชนแบบมีส่วนร่วม. วารสารการแพทย์โรงพยาบาลอุดรธานี, 27(2), 98–108.
สำนักงานสถิติแห่งชาติ ประเทศไทย (2563). โครงการสำรวจสถานการณ์เด็กและสตรีในประเทศไทย พ.ศ. 2562, รายงานผลฉบับสมบูรณ์. กรุงเทพฯ ประเทศไทย: สำนักงานสถิติแห่งชาติ ประเทศไทย.
สำนักงานสถิติแห่งชาติ ประเทศไทย. (2566). โครงการสำรวจสถานการณ์เด็กและสตรีในประเทศไทย พ.ศ. 2565, รายงานผลฉบับสมบูรณ์. กรุงเทพฯ ประเทศไทย: สำนักงานสถิติแห่งชาติ ประเทศไทย.
สำนักข่าว กรมประชาสัมพันธ์. (2565). คณะกรรมการมูลนิธิพัฒนาหน่วยบริการปฐมภูมิเฉลิมพระเกียรติ 60 พรรษา นวมิน ทราชินี ลงพื้นที่จังหวัดสุพรรณบุรีตรวจเยี่ยมและติดตามผลการดำเนินงานหน่วยบริการปฐมภูมิเฉลิมพระเกียรติฯ ต.บ่อสุพรรณ อ.สองพี่น้อง. สืบค้นเมื่อ 10 กรกฎาคม 2566 จาก https://thainews.prd.go.th/th/news/detail/TCATG220308155456614.
Agency for Healthcare Research and Quality. (2020). Elements of Access to Health Care. Retrieved on October 14, 2021 from https://www.ahrq.gov/research/findings/nhqrdr/chartbooks/access/elements.html.
Arbour, M., Mackrain, M., Fitzgerald, E., & Atwood, S. (2019). National Quality Improvement Initiative in Home Visiting Services Improves Breastfeeding Initiation and Duration. Academic Pediatrics, 19(2), 236-244.
Creswell, J., & Clark, V. (2017). Designing and Conducting Mixed Methods Research (3rd Ed.). London: SAGE
Global Security Organization. (2023). Health Service Support. Retrieved on July 10, 2023 from https://www.globalsecurity.org/military/library/policy/army/fm/4-0/chap9.htm.
Grimes, H. A., Shafiei, T., McLachlan, H. L., & Forster, D. A. (2020). Volunteers’ Experiences of Providing Telephone-based Breast-feeding Peer Support in the RUBY Randomized Controlled Trial. Public Health Nutrition, 23(16), 3005-3015.
Heinrich-Heine University. (2017). The G*Power Manual. Retrieved on October 17, 2021 from https://www.psychologie.hhu.de/fileadmin/redaktion/Fakultaeten/Mathematisch-Naturwissenschaftliche_Fakultaet/Psychologie/AAP/gpower/GPowerManual.pdf.
Jeong, J., Franchett, E. E., Ramos de Oliveira, C. V., Rehmani, K., & Yousafzai, A. K. (2021). Parenting Interventions to Promote Early Child Development in the First three Years of Life: A Global Systematic Review and Meta-analysis. PLoS Medicine, 18(5), e1003602.
Mersky, J. P., Janczewski, C. E., Plummer Lee, C., Gilbert, R. M., McAtee, C., & Yasin, T. (2021). Home Visiting Effects on Beastfeeding and Bedsharing in a Low-income Sample. Health Education & Behavior, 48(4), 488-495.
Mwoma, T., Kitsao-Wekulo, P., Haycraft, E., Kimani-Murage, E., Wanjohi, M., Kimiywe, J., ... & Griffiths, P. (2020). Experiences of Incorporating Support for Early Childhood Development Into the Baby Friendly Community Initiative in Rural Kenya. Journal of the British Academy, 8(s2), 103-132.
Pramita, P. E. G. (2019). Effect of Experience in Building Satisfaction, Trust and Loyalty. Journal Aplikasi Manajemen, 17(1), 76-86.
Pongkiatchai, R, Kamonratananun, N, & Wongwiseskul, S. (2023). Feasibility Study of a Web App Database for Breastfeeding Promotion and Early Child Health Care. [Manuscript submitted for Publication]. Faculty of Nursing, Suan Dusit University.
Rybińska, A., Best, D. L., Goodman, W. B., Weindling, W., & Dodge, K. A. (2022). Home Visiting Services During the COVID-19 Pandemic: Program Activity Analysis for Family Connects. Maternal and Child Health Journal, 26(1), 70–78.
Shepherd, A., Sanders, C., Doyle, M., & Shaw, J. (2015). Using Social Media for Support and Feedback by Mental Health Service Users: Thematic Analysis of a Twitter Conversation. BMC Psychiatry, 15(29), 1-9.
Toyon, M. A. S. (2021). Explanatory Sequential Design of Mixed Methods Research: Phases and Challenges. International Journal of Research in Business and Social Science, 10(5), 253-260.
Turner, R.C., Carlson, L. (2003). Indexes of Item-objective Congruence for Multidimensional Items. Int J Test, 3(2), 163-171.
Vaismoradi, M., & Snelgrove, S. (2019). Theme in Qualitative Content Analysis and Thematic Analysis. Retrieved on July 10, 1890 from https://www.nordopan.nord.no/nord-xmlui/bitstream/handle/11250/2627867/vaismoradi.pdf?sequence=4.
Vicente, D., Venegas, M., Coker, T. R., & Guerrero, A. D. (2022). Promoting Child Development During the COVID-19 Pandemic: Parental Perceptions of Tele-Home Visits in Early Head Start Programs. Maternal and Child Health Journal, 26 (12), 2496-2505.
World Health Organization. (2018). Implementation Guidance 2018 Protecting, Promoting, and Supporting Breastfeeding in Facilities Providing Maternity and Newborn Services: the Revised Baby-friendly Hospital Initiative. Retrieved on October 17, 2021 from www.who.int/nutrition/publications/infantfeeding/bfhi-implementation-2018.pdf.
World Health Organization. (2020). WHO Universal Health Coverage. Retrieved on October 17, 2021 from http://www.who.int/healthsystems/universal_health_coverage/en/.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสวนดุสิต

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.