การวิเคราะห์งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการเรียนการสอนภาษาอังกฤษระดับประถมศึกษา
คำสำคัญ:
การวิเคราะห์งานวิจัย, การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ, ประถมศึกษาบทคัดย่อ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์แนวทางของงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการเรียนการสอนภาษา อังกฤษระดับประถมศึกษาที่เผยแพร่ใน ThaiLIS ตั้งแต่ปี 2553 จนถึงปัจจุบัน เป็นกลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการ ศึกษา จำนวน 11 เล่ม ที่ผ่านเกณฑ์การการคัดเลือกที่กำหนดขึ้น เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบบันทึกข้อมูลเพื่อบันทึก ลักษณะของข้อมูลทั่วไปในงานวิจัยและแบบบันทึกผลงานวิจัยที่เป็นลักษณะองค์ความรู้รวมของงานวิจัยในการวิเคราะห์เนื้อหาเชิงคุณภาพในการวิเคราะห์ 5 ด้าน ประกอบด้วย หัวข้องานวิจัย วัตถุประสงค์งานวิจัยแนวคิดทฤษฎี ระเบียบวิธีวิจัย และ ผลการศึกษา ผลการวิเคราะห์พบว่า ระหว่างปี 2553-2563 มีผลงานวิจัยเพียง 11 เล่ม ที่มีการศึกษาเกี่ยวข้องกับการเรียนการสอนภาษาอังกฤษระดับประถมศึกษา ด้านหัวข้อวิจัยพบ ว่ามุ่งเน้นการพัฒนารูปแบบ วิธีการ สื่อการสอน สภาพปัญหาของผู้เรียน ผู้สอน และการพัฒนาผู้สอน ด้าน วัตถุประสงค์พบว่าส่วนใหญ่มีการมุ่งเน้นศึกษาด้านสภาพปัญหาของการจัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษในระดับประถมศึกษา ด้านแนวคิดทฤษฎีที่พบส่วนมากใช้แนวคิดในการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ และทฤษฎีการวัดและประเมินผลการศึกษา ด้านระเบียบวิธีวิจัยที่พบมากที่สุดคือการออกแบบงานวิจัยเป็นการวิจัยและ พัฒนา (Research and Development) และด้านผลการวิจัย สามารถจัดกลุ่มผลการวิจัยที่ได้เป็นห้าด้านคือการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ การพัฒนาครูผู้สอน การพัฒนาเจตคติและทัศนคติของผู้เรียน การพัฒนาสื่อ และการพัฒนาการวัดผลประเมินผล
References
กระทรวงศึกษาธิการ. Siam Edunews. (2559). ศธ. เผยผลสำรวจคนไทยพูดภาษาอังกฤษได้ร้อยละ 10 อยู่ใน อันดับ 5 ของอาเซียน. [Online]. Available: http://www.siamedunews.com/articles/42275409ศธ.เผยผลสำรวจคนไทยพูดอังกฤษได้ร้อยละ-10-อยู่ในอันดับ-5-อาเซียน.html. [January, 27 2016].
กาญจนา ชาตตระกูล, วนิดา อัญชลีวิทยกุล, ปิยะธิดา สุกระ, สรพล จิระสวัสดิ์, ขวัญสุดา ดีศิริ. (2555). การพัฒนานวัตกรรมการสอนภาษาอังกฤษระดับประถมศึกษาโดยใช้วิธีการสอนการเรียนรู้แบบ ร่วมมือ. งานวิจัย. หลักสูตรภาษาอังกฤษธุรกิจ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต
เกรียงศักดิ์ สยะนานนท์ และวัฒนา พัดเกตุ. (2548). อายุกับการเรียนภาษาอังกฤษที่มี และปัจจัยอิทธิพล ต่อความพึงพอใจหรือไม่พอใจในการเรียนภาษาอังกฤษ, คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร.
คณิตา ปราสัย. (2554). ผลของการใช้การสอนด้วยวิธีการเรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐานที่มีต่อความสามารถในการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6. วิทยานิพนธ์ หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการสอนภาษาอังกฤษเป็นภาษาต่างประเทศ คณะศิลปศาสตร์และสังคมศาสตร์. มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา.
ณัฐกันต์ สุขชื่น. (2559). แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับอันตรภาษาในเชิงวัจนปฏิบัติศาสตร์: วัจนกรรมขอโทษ. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชพฤกษ์. 2 (1): 10-23
ณพัฐอร์ โคตรพงษ์. (2559). การพัฒนาโมเดลผสมผสานอิงประสบการณ์เพื่อพัฒนาสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้สำหรับครูภาษาอังกฤษระดับประถมศึกษา. วิทยานิพนธ์ หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิตสาขาวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
ณ อัญชัน ชิตสุข. (2537). การสังเคราะห์งานวิจัยด้านภาษาอังกฤษระดับประถมศึกษา ระหว่าง พ.ศ. 2521- 2533. ปริญญานิพนธ์ หลักสูตรการศึกษามหาบัณฑิต สาขาภาษาศาสตร์ศึกษา คณะศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
ณิชากร นิธิวุฒิภาคย์. (2559). การพัฒนาหลักสูตรการฝึกอบรมการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานของครูสอนภาษาอังกฤษระดับประถมศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารและพัฒนาการศึกษา คณะครุศาสตร์. มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.
ธัญญลักษณ์ เวชกามา. (2562). รูปแบบการพัฒนาสมรรถนะครูด้านการสอนภาษาอังกฤษของโรงเรียนประถมศึกษาในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง. วิทยานิพนธ์ หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิตสาขาวิชาการบริหารการศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์.
นวพร ชลารักษ์. (2558). บทบาทของครูกับการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21. วารสารวิชาการฟาร์อีสเทอร์น. 9 (1): 64-71.
นารินทร์ มานะการ (ว่าที่ร้อยตรีหญิง). (2560). ปัญหาและแนวทางแก้ปัญหาการจัดการเรียนการสอนรายวิชาภาษาอังกฤษระดับประถมศึกษาของครูสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 7. วิทยานิพนธ์ หลักสูตรครุศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาหลักสูตรและการสอนคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา.
บุญเหลือ เทพยสุวรรณ. (2554). รวบรวมบทความเกี่ยวกับการเรียนการสอนภาษา. วารสารภาษาปริทัศน์. 26 (2544). 22-64.
บุบผา เมตศรีทองคำ. (2547). การวิจัยชาติพันธุ์วรรณนาอภิมานเกี่ยวกับการมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดการศึกษา. วิทยานิพนธ์ หลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิจัยการศึกษา คณะครุศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
วิโชติ ทองเสมอ, วรารักษ์ มาประสม, และจันทร์ดารา สุขสาม. (2557). การถ่ายทอดเทคโนโลยีบนสื่อมัลติมีเดีย ช่วยสอนวิชาภาษาอังกฤษระดับประถมศึกษาสำหรับอาจารย์ในจังหวัดสุรินทร์. สาขาวิชาระบบสารสนเทศ คณะเทคโนโลยีการจัดการ วิทยาเขตสุรินทร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล อีสาน
สมเดียว เกตุอินทร์. (2559), กลยุทธ์การขับเคลื่อนนโยบายการเรียนการสอนภาษาอังกฤษเพื่อการเป็นประชาคมอาเซียนของสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่เขต 3. วิทยานิพนธ์ หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการศึกษาและการพัฒนา บัณฑิต วิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย.
สิริกาญจน์ สิงห์เสน. (2556). ผลการใช้แบบฝึกทักษะการเรียนรู้คำศัพท์ภาษาอังกฤษ โดยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3. วิทยานิพนธ์. หลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาหลักสูตรและการสอน คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ บุรีรัมย์
สุภาพ ธีรทวีวัฒน์. (2554). การประเมินโครงการจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรกระทรวงศึกษาธิการเป็นภาษาอังกฤษระดับประถม โรงเรียนมารีย์วิทยา จังหวัดนครราชสีมา. วิทยานิพนธ์ หลักสูตร ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิจัยและประเมินผลการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
สุรีย์พร เพ็งเลีย. (2556). การศึกษาสภาพปัญหาและความพึงพอใจของนักเรียนในการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษระดับประถมศึกษาของโรงเรียนสังกัดเทศบาลเมืองอุตรดิตถ์. วิทยานิพนธ์ หลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาหลักสูตรและการสอน คณะครุศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ. (2560). แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579. กรุงเทพฯ: พริกหวานกราฟฟิค.
อาวุธ ธีระเอก. (2560). ภาษาเจ้า ภาษานาย การเมืองเบื้องหลังภาษาอังกฤษ สมัยรัชกาลที่ 5. กรุงเทพฯ: มติชน.
EF EPI. (2019). Thailand. [Online]. Available: https://www.ef.co.th/epi/regions/asia/thailand/ [January 24, 2020].
Effortless English. (2020). Importance of English. [Online]. Available: https://effortlessenglishclub.com/importance-of-english/ [May 9, 2020]
Internet World Status. (2019). Internet World Users by Language: Top 10 Languages. [Online]. Available: http://www.internetworldstats.com/stats7.htm [January 24, 2020]
Klappenbach, A. (2019). Most Spoken Language in the World 2020. [Online]. Available: https://blog.busuu.com/most-spoken-languages-in-the-world/ [January 24, 2020].
Madsen, L.M., (2018). Linguistic Ethnography: Study English Language, Cultures and Practices. The Routledge Handbook of English Language Studies. [Online]. Available: https://www.academiaedu/38110587/Linguistic_Ethnography_Studying_English_Language_Cultures_and_Practices. [February 10, 2020].
Malu, K.F. and Smedley, B. (2016). Community-based English Clubs: English Practice and Social Change Outside the Classroom. [Online]. Available: https://files.eric.ed.gov/fulltext/EJ1114170.pdf [February 10, 2020].
Milans, M. P., (2015). Language and Identity in Linguistic Ethnography. The Routledge handbook of Language & Identity. [Online]. Available: https://www.tilburguniversity.edu/sites/default/files/download/TPCS_132_PerezMilans2.pdf [February 10, 2020].
Mnkandla, E and Minnaar, A. (2017). The Use of Social Media in E-learning: A metasynthesis. International Review of Research in Open and Distributed Learning. 18 (5): 227-248.
Rattanaphumma, R. (2006). Community-based English Course in Local Perspectives. EDU-COM 2006 International Conference. 391-401.
Shaw SE, Copland Fand Snell 1, (2015). An Introduction to Linguistic Ethnography: Interdisciplinary Explorations, in Snell, Shaw and Copland (eds) Linguistic Ethnography. Interdisciplinary Explorations. Basingstoke, Palgrave Macmillan.
Zhao, S. (1991). Metatheory, Meta Method, Meta-data-analysis: What, Why and How?. Sociological Perspective. 34 (3): 377-390.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2021 วารสารวิชาการบัณฑิตวิทยาลัย สวนดุสิต

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.