ผลการจัดการเรียนรู้แบบออนไลน์ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ด้านไวยากรณ์ภาษาอังกฤษของนักศึกษาหลักสูตรภาษาอังกฤษธุรกิจ

ผู้แต่ง

  • กนกวรรณ กุลสุทธิ์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต
  • ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สุดารัตน์ เจตน์ปัญจภัค คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต
  • ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ขจีนุช เชาวนปรีชา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต
  • ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สรพล จิระสวัสดิ์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต
  • ดร. วิลาสินี พลอยเลื่อมแสง คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต
  • ลลิตา พูลทรัพย์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต
  • จุฬาลักษณ์ ปาณะศรี คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต

คำสำคัญ:

การเรียนออนไลน์, แบบฝึกไวยากรณ์ออนไลน์, ความรู้ด้านไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางด้านไวยากรณ์ภาษาอังกฤษของนักศึกษาหลักสูตรภาษาอังกฤษธุรกิจ มหาวิทยาลัยสวนดุสิตก่อนและหลังได้รับการจัดการเรียนรู้แบบออนไลน์ และเพื่อ ศึกษาความคิดเห็นของนักศึกษาหลักสูตรภาษาอังกฤษษุรกิจที่มีต่อการพัฒนาความรู้ด้านไวยากรณ์ภาษา อังกฤษด้วยการเรียนออนไลน์ เป็นการวิจัยเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักศึกษาหลักสูตรภาษาอังกฤษธุรกิจชั้นปีที่ 4 ปีการศึกษา 2560 จำนวน 43 คน สำหรับทำแบบทดสอบและตอบแบบสอบถามและเลือกนักศึกษาแบบเฉพาะเจาะจงจำนวน 5 คนเพื่อสัมภาษณ์กลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบทดสอบก่อนและหลังเรียนรู้ แบบสอบถาม และแบบสัมภาษณ์โดยค่าความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหาของข้อคำถามในแบบสอบถามเท่ากับ 1.00 วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณโดยใช้สถิติการแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าทีแบบไม่อิสระ ผลการศึกษาที่สำคัญพบว่า 1) นักศึกษาหลักสูตรภาษาอังกฤษธุรกิจมีผลสัมฤทธิ์ทางด้านไวยากรณ์ภาษาอังกฤษสูงขึ้นหลังการเรียนออนไลน์ที่ระดับนัยสำคัญ .05 และ 2) นักศึกษาหลักสูตรภาษาอังกฤษธุรกิจเห็นด้วยต่อการพัฒนาความรู้ด้านไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ ด้วยการเรียนไวยากรณ์ภาษาอังกฤษออนไลน์ด้วยตนเอง และมีระดับความคิดเห็นด้วยอย่างยิ่งอันดับแรกในประเด็นผู้เรียนศึกษาเนื้อหาจากแบบฝึกไวยากรณ์ภาษาอังกฤษออนไลน์ด้วยตนเองได้เท่าที่ต้องการ ผลจากการสัมภาษณ์ พบความคิดเห็น 3 ประเด็น ได้แก่ ความสะดวกในการเรียนออนไลน์ด้วยตนเองผ่านแอปพลิเคชันการพัฒนาความสามารถด้านไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ และความสามารถประยุกต์ใช้ความรู้จากการเรียนออนไลน์เพื่อการสอบโทอิค

References

กันตพร สวนศิลป์พงศ์, กนกพรรณ อรรัตนสกุล, ปริชมน จันทร์ศิริ, ภัทรมน สุขประเสริฐ, และ ศิวะภาคเจียรวนาลี. (2557). เจาะลึก Line แอพพลิเคชันที่มัดใจคนทั่วโลก. a day, 14 (165), 89-146.

ณภัทร วุฒิวงศา. (2557). กลยุทธ์สร้างแรงจูงใจ: การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ Motivational strategies: Enchancing English language skils. วารสารนักบริหาร Executive Journal, 34 (1), 89-97.

มหาวิทยาลัยสวนดุสิต. (2561). แผนกลยุทธ์มหาวิทยาลัยสวนดุสิต 2561-2564 (ฉบับสมบูรณ์). กรุงเทพฯ: สวนดุสิตกราฟฟิกไซต์.

วิจารณ์ พานิช. (2555). วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21. [Online]. Available: http://www.noppawan.sskru.ac.th/data/learn_C21.pdf [2559, มิถุนายน 18].

สุพรรณี อาศัยราช และ นันทวดี วงษ์เสถียร. (2557). การพัฒนาบทเรียนไวยากรณ์ภาษาอังกฤษแบบเน้นภาระงานโดยใช้เอกสารจริงด้านสังคมและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา. พระนครศรีอยุธยา: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ.

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2558). ทิศทางของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560-2564. [Online]. Available: http://www.nesdb.go.th/article_attach/Book_Plan12,pdf [2559, มิถุนายน 18].

Batstone, R. (1994). Grammar. Oxford: Oxford University Press.

Boldt, R.F. & Ross, S.J. (1998). Scores on the TOEIC (Test of English for International Communication) Test as a Function of Training Time and Type. [Online]. Available: https://www.ets.org/Media/Research/pdf/TOEIC-RR-03.pdf [2017, January 28].

Canale, M. & Swain, M. (1980). "Theoretical Bases of Communicative Approaches to Second Language Teaching and Testing." Applied linguistics, 1, 1-47.

Chen, T. (2014). Voices of four Taiwanese College Students' Experiences With the Test of English for International Communication (TOEIC) Preparation (PREP) Computer Assisted Language Learning (CALL). Doctoral Dissertation, Texas A & M University. [Online]. Available: http://hdl.handle.net/1969.1/152524 [2017, January 28].

Derewianka, B. (2008). A Grammar Companion for Primary Teachers. Sydney: PETA.

Dickin, P.M. (1991). What Makes a Grammar Test Communicative?. London: McMillan Publisher Ltd.

Dickins, P.M. & Woods, E.G. (1988). Some Criteria for the Development of Communicative Grammar Tasks. TESOL Quarterly, 22 (4), 623-646.

Educational Testing Service. (2016). 2015 Report on Test Takers Worldwide: The TOEIC® Listening and Reading Test. [Online. Available: https://www.ets.org/s/toeic/pdf/ww_data.report_unlweb.pdf [2017, January 29].

Gardner, R.C. (1985). Social Psychology and Second Language Learning: The Roles of Attitudes and Motivation. London: Edward Arnold.

Google. (2017). Google forms. [Online]. Available: https://www.google.com/intVen/forms/about/ [2017, January 28].

Harmer, J. (2007). The Practice of English Language Teaching. Essex: Pearson Education.

Learning Course Design: Utilizing Students' Mobile Online Devices. In F. Helm, L. Bradley, M. Guarda, & S. Thouësny (Eds), Critical CALL - Proceedings of the 2015 EUROCALL Conference, Padova, Italy (pp. 261-267). [Online]. Available: http://dx.doi.org/10.14705/rpnet.2015.000343 [2017, February 10].

Leech, G.N. (1983). Principle of pragmatics. Essex: Longman.

Lightbrown, P. (1985). Can Language Acquisition be Altered by Instruction? In Hyltenstam and Pienemann (eds.) Modeling and Assessing Second Language Acquisition. Clevedon, North Somerset: Multilingual Matters.

Lougheed, L. (2017). Barron's TOEIC Practice Exams. Hauppauge, New York: Barron's Educational Series.

Lougheed, L. (2007). Longman Preparation Series for the New TOEIC Test: Intermediate Course. White Plains, New York: Pearson Education.

Lougheed, L. (2006). Longman Preparation Series for the New TOEIC Test: Introductory Course. White Plains, New York: Pearson Education.

Mccarthy, F. (2000). Lexical and Grammatical Knowledge in Reading and Listening Comprehension by Foreign Language Learners of Spanish. Applied Language Learning, 11, 323-348.

Masgoret, A.M. & Gardner, R.C. (2003). Attitudes, Motivation, and Second Language Learning: A Meta-analysis of Studies Conducted by Gardner and Associates. Language Learning, 53 (1),123-163.

Nunan, D. (2004). Task-based Language Teaching. Cambridge: Cambridge University Press.

Skinner, B.F. (1971). Beyond Freedom and Dignity. Harmondsworth, Middlesex: Penguin Books.

Strauss, A. & Corbin, J. (2015). Basics of Qualitative Research: Techniques and Procedures for Developing Grounded Theory. Thousand Oaks, California: Sage.

Tamimi, A.A. & Shuib, M. (2009). Motivation and Aattitudes Towards Learning English: A Study of Petroleum Engineering Undergraduates at Hadhramout University of Sciences and Technology. GEMA Online Journal of Language Studies, 9 (2), 29-55.

Van Han, N. & van Rensburg, H. (2014). The Effect of Computer Assisted Language Learning (CALL) on Performance in the Test of English for International Communication (TOEIC) Listening Module. English Language Teaching, 7 (2), 30.

Winserr, B. & Cheung, W. (1996). The Quality of Software for Computer-based Literacy Learning. RELC Journal, 27 (2), 83-99.

Wu, Q. (2015). Designing a smartphone App to Teach English (L2) Vocabulary. Computers & Education, 85 (July), 170-179.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-02-15

How to Cite

กุลสุทธิ์ ก., เจตน์ปัญจภัค ส., เชาวนปรีชา ข., จิระสวัสดิ์ ส., พลอยเลื่อมแสง ว., พูลทรัพย์ ล., & ปาณะศรี จ. (2021). ผลการจัดการเรียนรู้แบบออนไลน์ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ด้านไวยากรณ์ภาษาอังกฤษของนักศึกษาหลักสูตรภาษาอังกฤษธุรกิจ. วารสารวิชาการบัณฑิตวิทยาลัยสวนดุสิต, 17(1), 1–20. สืบค้น จาก https://so19.tci-thaijo.org/index.php/SDUGSAJ/article/view/422