การใช้คำบุรุษสรรพนามในภาษาไทยและภาษาจีนของนักศึกษาชาวจีน
คำสำคัญ:
การใช้คำบุรุษสรรพนามในภาษาไทย, การใช้คำบุรุษสรรพนามภาษาจีน, นักศึกษาชาวจีนบทคัดย่อ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบการใช้คำบุรุษสรรพนามในภาษาไทยและภาษาจีน และเพื่อศึกษาปัญหาการใช้คำบุรุษสรรพนามในภาษาไทยของนักศึกษาชาวจีน โดยการวิเคราะห์สังเคราะห์ และเปรียบเทียบความแตกต่างในการใช้คำบุรุษสรรพนามในภาษาไทย และภาษาจีน งานวิจัยนี้เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ ซึ่งวิเคราะห์ และเปรียบเทียบ จากเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการใช้คำบุรุษสรรพนามในภาษาไทยและภาษาจีนแบบเจาะจง จำนวน 7 เล่ม ผลจากการวิจัยพบ ความแตกต่าง เรื่องการใช้คำบุรุษสรรพนาม ได้แก่ 1) คำบุรุษสรรพนามในภาษาไทย มีความแตกต่างในการเลือกใช้ และมีจำนวนมากกว่าคำบุรุษสรรพนามในภาษาจีน 2) ความแตกต่างนี้ทำให้นักศึกษาชาวจีน ที่เรียนภาษาไทยในฐานะภาษา ต่างประเทศมีปัญหาการใช้คำบุรุษสรรพนามในภาษาไทยไม่ถูกต้องตาม เพศ พจน์ ฐานะและความสัมพันธ์ทางสังคมระหว่างผู้พูด ผู้ฟังและผู้ที่ถูกกล่าวถึง
References
จินดารัตน์ ธรรมรงวุทย์. (2553) ข้อบกพร่องเชิงวัจนปฏิบัติศาสตร์ในการสื่อสารระหว่างวัฒนธรรม: กรณีศึกษาการใช้ภาษาไทยของผู้พูดชาวอเมริกันและชาวจีน. วิทยานิพนธ์ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิตสาขาภาษาเพื่อการสื่อสาร คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ฉิงหยู่ เหวิน. (2556). ปัญหาการใช้บุรุษสรรพนามของนักศึกษาจีนที่เรียนภาษาไทยตามแนวทางภาษาศาสตร์สังคม. วิทยานิพนธ์ ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการสอนภาษาไทย คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ชนิกา คำพุฒ. (2545), การศึกษาการใช้ภาษาไทยของนักศึกษาจีนวิชาเอกภาไทยชั้นปี 4 สถาบันชนชาติแห่งยูนนาน สาธารณรัฐประชาชนจีน. วิทยานิพนธ์ ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการสอนภาษาไทย คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
ธิดา โมสิกรัตน์, และคณะ. (2561). การใช้ภาษาไทยของนักศึกษาจีน: กรณีศึกษาปัญหาการเขียนของนักศึกษา จีน หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการสื่อสารภาษาไทยเป็นภาษาที่สอง มหาวิทยาลัย หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. วารสารศิลปศาสตร์ปริทัศน์. 13 (25): 18.
นววรรณ พันธุเมธา. (2558). ไวยากรณ์ไทย. กรุงเทพฯ: โครงการเผยแพร่ผลงานวิชาการ คณะอักษรศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
นิภา กู้พงษ์ศักด์ (2555), ปัญหาการใช้ภาษาไทยของนักศึกษาต่างชาติ:กรณีศึกษานักศึกษาจีน มหาวิทยาลัยกรุงเทพ. วารสารรามคำแหง ฉบับมนุษยศาสตร์. 31 (1): 123-139.
ปณิธาน บรรณาธรรม. (2555). นักศึกษาจีนกับข้อผิดพลาดในการเขียนภาษาไทย. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.
พิณทิพย์ ทวยเจริญ. (2547). ภาพรวมของการศึกษาสัทศาสตร์และภาษาศาสตร์ (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
เย่ หลู. (2555). การวิเคราะห์ข้อผิดพลาดในการใช้ประโยคคำถามของนักศึกษาจีนที่เรียนภาษาไทยเป็นภาษาต่างประเทศ. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการสอนภาษาไทย คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
หลาน เซี่ยหลิง. (2554). การใช้คำบุรุษสรรพนามในภาษาจีน ตั้งแต่ยุคใกล้-ยุคปัจจุบัน. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาภาษาและวรรณกรรมไทย-จีน คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
สรัลนันท์ ภูมิชิษสานันท์. (2559). การสื่อสารข้ามวัฒนธรรมระหว่างผู้เรียนชาวไทยและผู้สอนชาวสเปนในชั้นเรียนภาษาสเปนในประเทศไทย. วิทยานิพนธ์อักษรศาตรมหาบัณฑิต สาขาภาษาสเปนคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุรีย์วรรณ เสถียรสุคนธ์. (2553). ข้อบกพร่องในการเขียนภาษาไทยของนักศึกษาจีน: กรณีการศึกษามหาวิทยาลัยหอการค้าไทย 2551-2552. กรุงเทพฯ: คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย.
อมรา ประสิทธิ์รัฐสินธุ์. (2556). ภาษาศาสตร์สังคม. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
Zhu Yulin. (2562: 3 กันยายน). สัมภาษณ์โดย ชมพูนุช ประชาญสิทธิ์ ที่มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
路遥.(1988).平凡的世界.海南:北京十月文艺出版社.
赵树理.(1955). 三里湾.北京:人民文学出版社.
余华.(1995).许三观卖血记.海南:南海出版社.
郭敬明.(2003). 梦里花落知多少.北京:春风文艺出版社.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2021 วารสารวิชาการบัณฑิตวิทยาลัย สวนดุสิต

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.