ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานระบบบริหารการเงินการคลังภาครัฐ แบบอิเล็กทรอนิกส์ (GFMIS) ของกรมปศุสัตว์
คำสำคัญ:
การปฏิบัติงานศักยภาพ, ประสิทธิภาพ, ระบบบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์บทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานและปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์ GFMIS ของกรมปศุสัตว์เป็นการวิจัยประเภทเชิงปริมาณ กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ปฏิบัติงานระบบ GFMIS ของกรมปศุสัตว์ จำนวน 226 คนเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลคือ แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการวิเคราะห์การถดถอยเชิงพหุคูณเพื่อทดสอบสมมติฐาน ผลการวิจัยพบว่า ภาพรวมและรายด้านของการปฏิบัติงานคือ ด้านการนำเข้าข้อมูล ด้านการประมวลผลข้อมูลและด้านผลลัพธ์/การติดตาม ข้อมูล อยู่ในระดับมากที่สุดและศักยภาพการปฏิบัติงานคือ ด้านความรู้และประสบการณ์ทางบัญชีด้านการปฏิบัติตามระเบียบ ข้อบังคับ กฎหมาย (ด้านบัญชี) และด้านความสามารถในการปฏิบัติงานการเงินการบัญชีและการบริหารงบประมาณภาครัฐอยู่ในระดับมากที่สุดและประสิทธิภาพการปฏิบัติงานระบบ GFMISภาพรวมและรายด้าน คือ ด้านความครบถ้วนถูกต้องและเชื่อถือได้ ด้านความโปร่งใส ด้านความรวดเร็ว ทันเวลา ด้านความเข้าใจได้ และด้านการเปรียบเทียบกันได้ อยู่ในระดับมากที่สุด และพบว่าภาพรวมของ ปัจจัยการปฏิบัติงานและภาพรวมของปัจจัยศักยภาพการปฏิบัติงานมีผลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานระบบ GFMIS ของกรมปศุสัตว์ในทุกด้านที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05
References
จิตตมา ขำดำ. (2562). ความรู้ความสามารถของนักบัญชีและความเข้าใจในมาตรฐานการจัดทำบัญชีภาครัฐ ที่มีผลต่อประสิทธิภาพงานบัญชีของ สำนักงานอัยการสูงสุด. วารสารนักบริหาร. 39 (2), 52-65.
จิรพัฒน์ จรัสวิภาวี. (2561). ความรู้ความเข้าใจ ประสิทธิภาพด้านบัญชีสู่ระบบ GFMIS หน่วยงานภาครัฐในส่วนกลาง. การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจัยระดับชาติระดับปริญญาโท สาขาวิชาบริหารธุรกิจ (การบัญชี) มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.
จิรพัฒน์ จรัสวิภาวี. (2561). ความรู้ความเข้าใจ ประสิทธิภาพด้านบัญชีสู่ระบบ GFMIS หน่วยงานภาครัฐในส่วนกลาง. งานวิจัยระดับชาติระดับปริญญาโท สาขาวิชาบริหารธุรกิจ (การบัญชี (หน้าที่ 120-129) มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.
ชูศรี วงศ์รัตนะ และองอาจ นัยพัฒน์. (2551). แบบแผนการวิจัยเชิงทดลองและสถิติวิเคราะห์: แนวคิดพื้นฐานและวิธีการ. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ณฐพล เงินสวาท. (2562). ความสัมพันธ์ของการปฏิบัติงานการบริหารการเงินการคลังภาครัฐ แบบ อิเล็กทรอนิกส์ (GFMIS) ที่มีผลต่อคุณภาพรายงานการเงิน ของส่วนราชการในเขตกรุงเทพมหานคร. งานค้นคว้าอิสระหลักสูตรบัญชีมหาบัณฑิต คณะบัญชี มหาวิทยาลัยศรีปทุม.
ณัฐกุล ภูกลาง. (2559), ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐสู่ระบบอิเล็กทรอนิกส์ GFMIS ในมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม. วารสารช่อพะยอม.27(2), 159-165.
ณัฐวุฒิ ตันติเศรษฐ. (2558). ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อคุณภาพของงบการเงินและประสิทธิภาพในการตัดสินใจของบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. วิทยานิพนธ์ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบัญชี คณะการบัญชีและการจัดการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
พรปวีณ์ สายพรหม. (2558), ปัจจัยด้านความรู้ความสามารถของข้าราชการส่งผลต่อลักษณะเชิงคุณภาพของของของมูลทางการเงินของสำนักการคลังและงบประมาณ สำนักเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. ปริญญาบัญชีมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบัญชี คณะการบัญชี มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิต.
พัชรินทร์ศิริทรัพย์. (2558). ผลกระทบการใช้ระบบบริการการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์ GFMIS ที่มีผลต่อคุณภาพการรายงานการเงินของหน่วยงานราชการ กรณีศึกษาอำเภอพระนครศรีอยุธยา. การค้นคว้าอิสระปริญยาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต วิชาเอกการบัญชีคณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลราชบุรี.
เพ็ญพิชชา ผลไพบูลย์. (2562). ประสิทธิผลของระบบสารสนเทศทางบัญชีภายใต้ระบบ GFMIS ที่มีผลต่อความสำเร็จในการปฏิบัติงานทางบัญชี. ปริญญาบัญชีมหาบัณฑิต คณะบัญชีมหาวิทยาลัยศรีปทุม.
ภิรมย์พรเยาดำ. (2559). ประสิทธิภาพของระบบบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์ (GFMIS)ในเขตพื้นที่จังหวัดระนอง. วิทยานิพนธ์ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบัญชีมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.
ยืน ภู่วรวรรณ. (2557) รัฐอิเล็กทรอนิกส์โมเดลการบริการใหม่เพื่อประชาชน. กรุงเทพฯ: เม็ดทรายพริ้นติ้ง.
วนิดา ชุติมากุล. (2556). ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการจัดทำบัญชีในระบบการบริหารการเงินการคลัง ภาครัฐแบบระบบอิเล็กทรอนิกส์อย่างมีประสิทธิภาพของบุคลากรการเงินและการบัญชี: กรณีศึกษาในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล. วารสารสังคมศาสตร์. 2 (1), 1-18
วิไลลักษณ์จิ้วเส้ง (2556). ปัญหาและอุปสรรคการนำระบบบริหารการเงินการคลังภาครัฐด้วยอิเล็กทรอนิกส์ GFMIS มาใช้: กรณีศึกษากรมประมง. วิทยานิพนธ์ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.
วุฒิพงศ์ พงศ์สุวรรณ. (2560). รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์. ในเอกสารวิชาการประจำปี พ.ศ. 2559 เรื่อง"การปฏิรูประบบราชการ: รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (E-government)". (น.15-38), กรุงเทพฯ:สำนักงานคณะกรรมการปฏิรูประบบราชการ สำนักงาน ก.พ..
ศศิธร พุดจาด. (2558). ความสามารถในการใช้ระบบบัญชีภาครัฐ GFMIS ของหน่วยงานราชการจังหวัด สุโขทัย. บทความวิจัยสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 38. สำนักงานศึกษาธิการ จังหวัดสุโขทัย สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ.
ศิริไพร สินประกอบ. (2560). ผลกระทบของการจัดการความเสี่ยงในระบบ GFMIS ที่มีต่อคุณภาพของงบการเงินกรณีศึกษาส่วนราชการเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. วิทยานิพนธ์ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน.
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร. (2555). ระบบบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์.กรุงเทพฯ: สำนักงานปลัดกระทรวงการคลัง.
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ. (2561). การบริหารราชการแบบมีส่วนร่วม. กรุงเทพมหานคร สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ(กพร.).
สิริกร พรหมปิงกา. (2560). การนำเข้าข้อมูล ความรู้ความสามารถของบุคลากร ขีดความสามารถของเทคโนโลยีและการสนับสนุนของผู้บริหาร ส่งผลต่อประสิทธิผลของระบบ GFMIS ของผู้ปฏิบัติงานในสถานศึกษา สังกัดสานักงานคณะกรรมการอาชีวศึกษา. วารสารวิทยาการจัดการสมัยใหม่ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2560. หน้า 49-64.
สุชาติ ประสินธิ์รัฐสินธุ์. (2556). การใช้สถิติในงานวิจัยอย่างถูกต้องและได้มาตรฐานสากล. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพมหานคร: สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
Cronbach, L.J. (1990). Essentials of Psychological Testing (5th ed.). New York: Harper & Row Publishers.
Yamane, Taro. (1973). Statistics: An Introductory Analysis. Third editio. Newyork: Harper and. Row Publication.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2021 วารสารวิชาการบัณฑิตวิทยาลัย สวนดุสิต

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.