การวิเคราะห์องค์ประกอบของปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการบริโภคที่ยั่งยืน

ผู้แต่ง

  • สินธวัฒน์ สินธนบดี วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
  • อรพรรณ คงมาลัย วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

คำสำคัญ:

ปัจจัยที่ส่งผล, พฤติกรรมการบริโภคที่ยั่งยืน, การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจ

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้เป็นงานวิจัยเชิงปริมาณ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาองค์ประกอบของปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อพฤติกรรมการบริโภคที่ยั่งยืน กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้บริโภคที่ใช้บริการชำระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ของผู้ให้บริการทางการเงินอยู่ในปัจจุบันและบริโภคผลิตภัณฑ์สีเขียวอย่างต่อเนื่องจำนวน 500 ตัวอย่างซึ่งถูกสุ่มตัวอย่างด้วยวิธีแบบเฉพาะเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามออนไลน์ลักษณะคำถามแบบปลายปิด โดยมีการทดสอบความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา และความน่าเชื่อถือของแบบสอบถาม สำหรับการวิเคราะห์ข้อมูลใช้เทคนิคการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจ เพื่อระบุองค์ประกอบร่วม และจัดกลุ่มองค์ประกอบใหม่ ผลการวิจัย พบว่า ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อพฤติกรรมการบริโภคที่ยั่งยืนประกอบด้วย 4 ปัจจัย 8 กลุ่มองค์ประกอบ ดังนี้ ปัจจัยทัศนคติด้านสุขภาพและสิ่งแวดล้อมประกอบด้วย 2 องค์ประกอบ ได้แก่ การมีส่วนร่วม และความรู้ความเข้าใจปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด 3Es ของผลิตภัณฑ์สีเขียวประกอบด้วย 3 องค์ประกอบ ได้แก่ การสร้างสาวก การตอบสนองในทุกที่ และการสร้างประสบการณ์ ปัจจัยคุณลักษณะนวัตกรรมการเงินสีเขียวประกอบด้วย 2 องค์ประกอบ ได้แก่ การใช้งาน และประโยชน์เชิงเปรียบเทียบ และปัจจัยมาตรการจูงใจของภาครัฐที่มีมาตรการจูงใจเป็นเพียงองค์ประกอบเดียว

References

ณัฐณิชา นิสัยสุข. (2556). ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการซื้อผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมของผู้บริโภค. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สำนักวิชาเทคโนโลยีสังคม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี. [Online]. Available: http:// sutir.sut.ac. th: 8080/jspui/bitstream/123456789/5153/2/Fulltext.pdf. [2565, มีนาคม 5].

ปรียาพัชร เกียรติเฉลิมพร, ฐิติกานท์ สัจจะบุตร, ณัฐพันธ์ บัววราภรณ์ และพนิตา สุรชัยกุลวัฒนา. (2562). ปัจจัยด้านคุณลักษณะของนวัตกรรมและปัจจัยด้านพฤติกรรมที่มีอิทธิพลต่อความพึงพอใจในการใช้บริการธุรกรรมทางการเงินผ่านช่องทาง Mobile Application Banking (GHB ALL). 2 สิงหาคม 2562. มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย. 1047-1059. [Online]. Available: https://rsujournals.rsu.ac.th/index.php/rgrc/article/ download/1517/1161. [2565, กุมภาพันธ์ 17].

ศูนย์วิจัยกสิกรไทย. (2564). ผู้บริโภคเต็มใจจ่าย เพื่อสินค้าและบริการรักษ์โลก. [Online]. Available: https://www. kasikornresearch.com/th/analysis/k-social-media/Pages/Green-FB-12-10-21.aspx. [2565, กุมภาพันธ์ 16].

สำนักงานนโยบายและยุทธศาสตร์การค้า. (2560). การผลิตและการบริโภคเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน. วารสาร สนค. 7 (71), 6-7.

สิวรี ศิริวงศ์. (2561). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความพึงพอใจของผู้ใช้บริการธนาคารผ่านโทรศัพท์มือถือ: กรณีศึกษานักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ [Online]. Available: http://ethesisarchive. library.tu.ac.th/ thesis/ 2018/ TU_2018_5423030583_9618_9536.pdf. [2565, กุมภาพันธ์ 16].

สุรพงษ์ คงสัตย์ และธีรชาติ ธรรมวงค์. (2558). การหาค่าความเที่ยงตรงของแบบสอบถาม (IOC). มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. [Online]. Available: https://www.mcu.ac.th/article/detail/14329. [2565, เมษายน 16].

อรพรรณ คงมาลัย และอัญณิฐา ดิษฐานนท์. (2562). เทคนิควิจัย ด้านการบริหารเทคโนโลยีและนวัตกรรม. (พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

อรรถไกร พันธุ์ภักดี. (2559). การเปรียบเทียบผลการใช้สถิติวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อตรวจสอบความตรงเชิงโครงสร้างของแบบวัดทุนทางสังคมระหว่างการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจกับการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน. วารสารบริหารธุรกิจ เศรษฐศาสตร์และการสื่อสาร. 11 (2), 46-61.

Anđić, D., & Vorkapić, S. T. (2014). Interdisciplinary Approaches to Sustainable Development in Higher Education: A Case Study from Croatia. In

K. Thomas, & H. Muga (Ed.), Handbook of Research on Pedagogical Innovations for Sustainable Development (pp. 67-115).

IGI Global. http://doi.org/10.4018/978-1-4666-5856-1.ch005

Bakanauskas, A., Kondrotiene, E., & Puksas, A. (2020). The Theoretical Aspects of Attitude Formation Factors and Their Impact on Health Behaviour. Management of Organizations Systematic Research, 83 (1), 15-36. [Online]. Available: https://doi.org/10.1515/mosr-2020-0002. [2022, February 23].

Chomsaeank Photcharoen, Chung, R., & Sann, R. (2020). Modelling Theory of Planned Behavior on Health Concern and Health Knowledge towards Purchase Intention on Organic Products. International Business Research. 13 (8), 100-116. [Online]. Available: https://doi.org/10.5539/ibr.v13n8p100. [2022, February 23].

Din, A. M., Wanni, L., & Sehar, R. H. R. (2016). Factor Affecting Green Awareness on Generation Y Purchasing Behavior towards Green Brand Products. Journal of Applied Environmental and Biological Sciences. 6 (11), 36-43.

Effendi, I., Ginting, P., Lubis, A. N., & Fachruddin, K. A. (2015). Analysis of Consumer Behavior of Organic Food in North Sumatra Province, Indonesia. Journal of Business and Management. 4 (1), 44-58. [Online]. Available: https://doi.org/10.12735/jbm.v4i1p44. [2022, February 22].

Field, A. (2017). Discovering Statistics Using IBM SPSS Statistics. (5 ed.). London: SAGE edge.

Hair, J. F., Balck, W. C., Babin, B. J., & Anderson, R. E. (2010). Multivariate Data Analysis: A Global Perspective. (7 ed.). New York: Pearson.

Kamalanon, P., Chen, J.-S., & Le, T.-T.-Y. (2022). Why Do We Buy Green Products? An Extended Theory of the Planned Behavior Model for Green Product Purchase Behavior. Sustainability 2022. 14 (2), 689. [Online]. Available: https://doi.org/10.3390/su14020689. [2022, March 2].

Kitiya Issavarestagul. (2019). Marketing Strategies for Recycled Innovative Products and Processing Industry of Steel Furniture and Home Décor Products in Bangkok, Thailand. Asian Administration and Management Review. 2 (2), 103-114. [Online]. Available: https://so01.tci- thaijo.org/index.php/ AAMR/article/view/242836. [2022, February 16].

Konhäusner, P., Shang, B., & Dabija, D.-C. (2021). Application of the 4Es in Online Crowdfunding Platforms: A Comparative Perspective of Germany and China. Journal of Risk and Financial Management. 14 (2), 49. [Online]. Available: https://www.mdpi.com/1911-8074/14/2/49. [2022, February 19].

Miranda, N. G., & Balqiah, T. E. (2020). Role of Network Externalities and Innovation Characteristics in Influencing Intentions to Use an Online Bank: Moderating Technological Anxiety. International Journal of Business and Society. 21 (3), 1352-1365. [Online]. Available: https://doi.org/10.33736/ijbs.3354.2020. [2022, February 17].

New Energy Nexus. (2020). Climate Fintech: Mapping an Emerging Ecosystem of Climate Capital Catalysts. [Online]. Available: https://www.newenergynexus.com/wp-content/uploads/2021/ 01/ New-Energy-Nexus-Climate-Fintech-Report.pdf. [2022, February 12].

Nunnally, J. C. (1978). Psychometric Theory. (2 ed.). New York: McGraw-Hill.

Rajadurai, J., Bathmanathan, V., & Azami, N. (2021). Online Purchasing Behavior of Green Products: A Case Study of Generation Y in Malaysia. The Journal of Asian Finance, Economics and Business. 8 (6), 305-317. [Online]. Available: https://doi.org/10.13106/jafeb.2021.vol8.no6.0305. [2022, January 14].

Rogers, E. M. (2003). Diffusion of Innovations. (5 ed.). New York: Simon & Schuster.

Tapia, C., Corral-Verdugo, V., Fraijo-Sing, B., & Duron, F. (2013). Assessing Sustainable Behavior and its Correlates: A Measure of Pro-Ecological, Frugal, Altruistic and Equitable Actions. Sustainability 2013. 5(2), 711-723. [Online]. Available: https://doi.org/10.3390/su5020711. [2022, April 19].

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-06-17

How to Cite

สินธนบดี ส. ., & คงมาลัย อ. . (2023). การวิเคราะห์องค์ประกอบของปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการบริโภคที่ยั่งยืน. วารสารวิชาการบัณฑิตวิทยาลัยสวนดุสิต, 19(1), 113–128. สืบค้น จาก https://so19.tci-thaijo.org/index.php/SDUGSAJ/article/view/37