ความรู้ การรับรู้ข้อมูลข่าวสาร กับพฤติกรรมการจัดอาหารสำหรับเด็กก่อนวัยเรียน ของผู้ปกครองโรงเรียนรัฐบาล จังหวัดยะลา

ผู้แต่ง

  • ดารานี ปาแนจะกะ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
  • รองศาสตราจารย์ ดร.จินตนา กาญจนวิสุทธิ์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
  • ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นฤมล ศราธพันธุ์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

คำสำคัญ:

ความรู้, การรับรู้ข้อมูล, พฤติกรรมการจัดอาหาร

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ความรู้ การรับรู้ข้อมูลข่าวสาร กับพฤติกรรมการจัดอาหารสำหรับเด็กก่อนวัยเรียนของผู้ปกครองโรงเรียนรัฐบาล จังหวัดยะลา 2) ความสัมพันธ์ระหว่าง ความรู้ การรับรู้ข่าวสาร และพฤติกรรมการจัดอาหารสำหรับเด็กก่อนวัยเรียนของผู้ปกครองโรงเรียนรัฐบาล จังหวัดยะลา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นผู้ปกครองเด็กก่อนวัยเรียนโรงเรียนรัฐบาล จังหวัดยะลา จำนวน 305 คน โดยใช้การสุ่มแบบแบ่งชั้นตามสัดส่วน เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบทดสอบ และแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการศึกษา พบว่า ผู้ปกครองเด็กก่อนวัยเรียนโรงเรียนรัฐบาล จังหวัดยะลา มีความรู้การจัดอาหาร มีคะแนนเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับดี (X̅ = 11.80) การรับรู้ข้อมูลข่าวสารการจัดอาหารมีคะแนนเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับการรับรู้ข่าวสารเป็นบางครั้ง (X̅ = 2.28) พฤติกรรมการจัดอาหารมีคะแนนเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับปฏิบัติเป็นประจำ (X̅ = 2.36) และความรู้ มีความสัมพันธ์เชิงบวกหรือในทิศทางเดียวกันกับพฤติกรรมการจัดอาหารเป็นความสัมพันธ์ในระดับต่ำ (r = 0.34) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และการรับรู้ข้อมูลข่าวสารมีความสัมพันธ์เชิงบวกหรือในทิศทางเดียวกันกับพฤติกรรมการจัดอาหารเป็นความสัมพันธ์ในระดับปานกลาง (r = 0.54) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01

Author Biographies

รองศาสตราจารย์ ดร.จินตนา กาญจนวิสุทธิ์, คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

อาจารย์ที่ปรึกษาหลักวิทยานิพนธ์

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นฤมล ศราธพันธุ์, คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

อาจารย์ที่ปรึกษาร่วมวิทยานิพนธ์

References

จิราภา สุวรรณกิจ. (2565). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อภาวะโภชนาการของเด็กวัยก่อนเรียน. วารสารโรงพยาบาลสิงห์บุรี, 31(2), 81-94.

จุไรรัตน์ วัชรอาสน์. (2560). ภาวะโภชนาการสำหรับเด็กก่อนวัยเรียน. ชลบุรี: วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี.

นภารัตน์ ไวยเจริญ, จารียา อรรถอนุชิต และจิระวัฒน์ ตันสกุล. (2555). ความรู้ ทัศนคติ และการรับรู้ข่าวสารอาหารฮาลาลต่อพฤติกรรมการบริโภคของนักศึกษาระดับอุดมศึกษาในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนใต้. สงขลา: มหาวิทยาลัยหาดใหญ่.

ประไพพิศ สิงหเสม, ศักรินทร์ สุวรรณเวหา และ อติญาณ์ ศรเกษตริน. (2560). การส่งเสริมโภชนาการในเด็กวัยก่อนเรียน. วารสารเครือข่ายวิทยาวิทยาลัยพยาบาลและสาธารณสุขภาคใต้, 4(3), 226-235.

ผ่องพรรณ ตรัยมงคลกูล และสุภาพ ฉัตราภรณ์. (2555). การออกแบบการวิจัย. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

ฝ่ายโภชนาการ โรงพยาบาลศิริราช. (2556). อาหารเด็กก่อนวัยเรียน. กรุงเทพฯ: คณะแพทย์ศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล.

พรรณี ลีกิจวัฒนะ. (2559). การวิจัยทางการศึกษา (พิมพ์ครั้งที่ 11 ). กรุงเทพฯ: สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง.

พิจาริน สมบูรณกุล. (2563). กรอบการดำเนินโครงการการสร้างเสริมสุขภาพและภาวะโภชนาการของเด็กแรกเกิด ถึง 12 ปี. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต คณะสถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.

รวิวรรณ แก้วใจ. (2550). ปัจจัยที่สัมพันธ์กับการจัดอาหารเพื่อโภชนาการของเด็กก่อนวัยเรียนที่ศึกษาในโรงเรียนเอกชน เขตสายไหม กรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

วนิสา องอาจ. (2559). การศึกษาพฤติกรรมการบริโภคอาหารของเด็กปฐมวัยในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร. วารสารวิชาการศึกษาศาสตร์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินวิโรฒ, 17(2), 13-27.

วรวรรณ จงสง่าวิทยาเลิศ. (2558). ปัญหาการกินในเด็ก. สืบค้นเมื่อ 6 กุมภาพันธ์ 2564 จาก https://rajanukul.go.th/iqeq/index.php?mode=iqeq&group_id=0&id=171.

วิรัลพัชร มานิตศรศักดิ์. (2559). ความคาดหวังต่อประโยชน์ การเปิดรับข่าวสาร และความพึงพอใจ Generation Y ที่มีต่อเว็บไซต์ TripAdvisor. วิทยานิพนธ์วารสารศาสตรมหาบัณฑิต คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ศรันถ์ ยี่หลั่นสุวรรณ. (2558). การเปิดรับข่าวสาร ความรู้ ทัศนคติ และแนวโน้มพฤติกรรมที่มีต่อโครงการส่งเสริมสังคม ของผู้นำเยาวชนประเทศอาเซียน และญี่ปุ่น ผ่านช่องทางเฟซบุ๊ก. วิทยานิพนธ์วารสารศาสตรมหาบัณฑิต คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ศักรินทร์ สุวรรณเวหา. (2562). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับภาวะโภชนาการของเด็กวัยก่อนเรียน: การทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบ. วารสารวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นครราชสีมา, 25(2), 8-24.

สมพร มีเครือ. (2558). การรับรู้สาร ความตระหนักในคุณประโยชน์และพฤติกรรมการบริโภคอาหารประเภทผักและผลไม้จากนิตยาสารเพื่อสุขภาพของนักศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วารสารความปลอดภัยและสุขภาพ, 8(29), 27-35.

สมาคมกุมารแพทย์แห่งประเทศไทย. (2560). คู่มือสำหรับพ่อแม่ เพื่อเผยแพร่ความรู้ด้านการดูแลและพัฒนาเด็ก ตอนเด็กวัยอนุบาล 3-6 ปี. กรุงเทพฯ: ราชวิทยาลัยกุมารแพทย์แห่งประเทศไทย.

สโรชา นันทพงศ์. (2557). ปัจจัยที่สัมพันธ์กับพฤติกรรมการจัดอาหารสำหรับเด็กวัยก่อนเรียนของผู้ปกครองโรงเรียนรัฐบาล จังหวัดชุมพร. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ. (2563). หลักการกำหนดอาหารสำหรับเด็กวัยก่อนเรียน. สืบค้นเมื่อ 13 มิถุนายน 2564 จาก https://www.thaihealth.or.th.

สำนักงานสถิติแห่งชาติ ประเทศไทย. (2563). รายงานผลการวิจัยเรื่องโครงการสำรวจสถานการณ์เด็กและสตรีในประเทศไทย พ.ศ. 2562. กรุงเทพฯ: สำนักงานสถิติแห่งชาติ ประเทศไทย.

สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ สำนักนายกรัฐมนตรี. (2565). ร่างแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่สิบสามพ.ศ. ๒๕๖๖–๒๕๗๐. สืบค้นเมื่อ 6 ตุลาคม 2566 จาก http://nscr.nesdc.go.th/wp-content/uploads.

สำนักโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. (2558). คู่มือแนวทางการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพด้านโภชนาการ. กรุงเทพฯ: สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ.

สุระเดช ไชยตอกเกี้ย. (2558). ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหารของวัยผู้ใหญ่ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. วารสารวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย, 13(45), 68-78.

อบเชย วงศ์ทอง. (2560). โภชนศาสตร์ครอบครัว. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

อังคณา ขันตรีจิตรานนท์. (2563). อาหารและโภชนาการสำหรับเด็กปฐมวัย. กรุงเทพฯ: ไฮสปีดเลเซอร์ปริ้นต์.

UNICEF Thailand. (2564). ผลสำรวจชี้เด็กในจังหวัดชายแดนภาคใต้เผชิญปัญหาโภชนาการ ขาดภูมิคุ้มกันโรค และขาดทักษะเรียนรู้. สืบค้นเมื่อ 10 มิถุนายน 2564 จาก https://www.unicef.org/thailand/th/press-releases

Best, J. W., & Kahn, J. V. (2005). Research in Education (10th ed.). Boston: Pearson Education.

Cronbach, L. J. (1990). Essentials of Psychology Testing (5th ed.). New York: Harper and Row.

Fraenkel, J. R., & Wallen, N. E. (2006). How to Design and Evaluate Research in Education (6th ed.). New York: McGraw-Hill Companies.

Krejcie, R. V., & Morgan, D. W. (1970). Determining Sample Size for Research Activities. Journal of Educational and Psychological Measurement, 30(3), 608.

Payne, D. (2003). Applied Educational Assessment (2nd ed.). Canada: Nelson Thomson Learning.

Turner, R. C., & Carlson, L. (2003). Indexes of Item-Objective Congruence for Multiple Dimension items. International Journal of Testing, 3(2), 163-171.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2025-02-14

How to Cite

ปาแนจะกะ ด. ., กาญจนวิสุทธิ์ จ. ., & ศราธพันธุ์ น. (2025). ความรู้ การรับรู้ข้อมูลข่าวสาร กับพฤติกรรมการจัดอาหารสำหรับเด็กก่อนวัยเรียน ของผู้ปกครองโรงเรียนรัฐบาล จังหวัดยะลา. วารสารวิชาการบัณฑิตวิทยาลัยสวนดุสิต, 21(1), 17–28. สืบค้น จาก https://so19.tci-thaijo.org/index.php/SDUGSAJ/article/view/335