แนวปฏิบัติด้านการจัดการขยะและมลพิษของการประกอบธุรกิจร้านอาหารสีเขียวในประเทศไทย

ผู้แต่ง

  • ยศพิชา คชาชีวะ วิทยาลัยบริหารธุรกิจนวัตกรรมและการบัญชี มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์
  • ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศิริเดช คำสุพรหม วิทยาลัยบริหารธุรกิจนวัตกรรมและการบัญชี มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์
  • ดร.จิราพร ชมสวน วิทยาลัยบริหารธุรกิจนวัตกรรมและการบัญชี มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์

คำสำคัญ:

ร้านอาหารสีเขียว, ขยะร้านอาหาร, มลพิษร้านอาหาร

บทคัดย่อ

ผู้ประกอบธุรกิจร้านอาหารในปัจจุบันให้ความสนใจต่อการประกอบธุรกิจร้านอาหารที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมหรือร้านอาหารสีเขียว ซึ่งประกอบด้วยแนวปฏิบัติหลายประการ การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ศึกษาถึงองค์ประกอบของแนวปฏิบัติด้านการจัดการขยะและมลพิษเนื่องจากเป็นด้านที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมอย่างชัดเจน และยังได้ศึกษาถึงอิทธิพลของปัจัยประชากรศาสตร์ ด้านเพศ อายุ และรายได้ของธุรกิจต่อแนวปฏิบัตินี้ โดยทำการสุ่มตัวอย่างอย่างง่ายแจกแบบสอบถามกับผู้ประกอบธุรกิจร้านอาหารในประเทศไทยจำนวน 407 ราย นำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์องค์ประกอบแนวปฏิบัติที่ศึกษาด้วยการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจ (Exploratory Factor Analysis: EFA) และทำการยืนยันองค์ประกอบด้วยการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน (Confirmatory Factor Analysis: CFA) นำปัจจัยที่ได้ไปวิเคราะห์ความสัมพันธ์กับตัวแปรต้นด้านประชากรศาสตร์ด้วยสถิติ t-test และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (one-way analysis of variance) ผลการศึกษาพบว่าในแนวปฏิบัตินี้ ผู้ประกอบธุรกิจร้านอาหารให้ความสำคัญกับการลดมลพิษ การลดขยะต้นทาง การใช้เทคโนโลยีลดขยะ และระบบการจัดการขยะ ตามลำดับ และยังพบว่าปัจจัยด้านประชากรศาสตร์ เพศมีผลต่อการปฏิบัติด้านการจัดการขยะและมลพิษของผู้ประกอบธุรกิจร้านอาหารในประเทศไทยไม่แตกต่างกัน ส่วนด้านอายุและรายได้มีผลต่อการปฏิบัตินี้แตกต่างกัน

References

กรมควบคุมมลพิษ. (2562). รายงานสถานการณ์มลพิษของประเทศไทย ปี 2562. [Online}. Available: https://www.pcd.go.th/wp-content/uploads/2020/09/pcdnew-2020-09-03_08-10-17_397681.pdf. [2564, มิถุนายน 5].

กรมพัฒนาธุรกิจการค้า. (2562). ธุรกิจร้านอาหาร. [Online}. Available: https://www.dbd.go.th/download/document_file/Statisic/2562/T26/T26_201902.pdf. [2564, มิถุนายน 3].

กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม. (2564). การบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมประเภทภัตตาคารและร้านอาหาร (Green Restaurant). [Online}. Available: https://datacenter.deqp.go.th/service-portal/g-green/greenrestaurant/aboutg-restaurant/. [2564, มิถุนายน 15].

ปรียาพร พรหมพิทักษ์. (2558). คนเราตัดสินใจเพื่อสิ่งแวดล้อมได้อย่างไร. กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม. [Online}. Available: https://datacenter.deqp.go.th/media/images/8/BE/หนังสือ_คนตัดสินใจเพื่อสิ่งแวดล้อมได้อย่างไร.pdf. [2564, มิถุนายน 4].

อุรพี สุวรรณเดชา. (2559). การรับรู้เกี่ยวกับร้านอาหารที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลต่อความตั้งใจซื้อของนักท่องเที่ยวอาเซียนในเมืองพัทยา จังหวัดชลบุรี. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการธุรกิจโลก วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา.

วณิชยา พัฒนกำแหง. (2554). การสร้างธุรกิจอย่างยั่งยืนของร้านอาหารซีแอนด์ซีสาขาราชบุรีในฐานะผู้ประกอบการทางสังคม. วิทยานิพนธ์หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการประกอบการ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร กรุงเทพ.

De Groot, J. I. M., & Steg, L. (2009). Mean or green: Which values can promote stable pro-environmental behavior? Conservation Letters, 2(2), 61–66. [https://doi.org/10.1111/j.1755-263X.2009.00048.]

Doğan, Hulusi., Nebi̇Oğlu, Oguz., & Demi̇Rağ, Mehmet. (2015). A comparative study for green management practices in Rome and Alanya restaurants from managerial perspectives. Journal of Tourism and Gastronomy Studies, 3.(2), 3-11.

FAO. (2021). Food Loss and Food Waste. Food and Agriculture Organization of the United Nations. [Online}. Available: http://www.fao.org/food-loss-and-food-waste/flw-data. [2021, August 13].

Fisher, C., Bashyal, S., & Bachman, B. (2012). Demographic Impacts on Environmentally Friendly Purchase Behaviors. Journal of Targeting, Measurement and Analysis for Marketing, 20 (3), 172–184. [https://doi.org/10.1057/jt.2012.13.].

GRA. (2019). Green Restaurant Association Certification Standards. Green Restaurant. [Online]. Available: https://www.dinegreen.com/certification-standards. [2019, October 15].

Green Seal. (2019). Green Seal. [Online}. Available: https://greenseal.org. [2019, October 15].

Gül E., & Aytekin, M. (2014). Demographic Characteristics of Consumer Buying Behavior Effects of Environmentally Friendly Products and an Application in Gaziantep. The Business & Management Review. 5 (1), 72-82.

Hair JR, J. F., Black, W. C., Babin, B. J., & Anderson, R. E. (2010). Multivariate Data Analysis. (7th ed.). Pearson Prentice-Hall.

Hilario, J. S. (2014). Responsiveness of Fast-food Chain Managers along Far Eastern University (FEU-Manila) Towards the Implementation of Green Practices in Restaurants. International Research Journal of Public and Environmental Health, 1 (9), 183-191.

Jeong, E., & Jang, S. (2010). Effects of Restaurant Green Practices: Which Practices are Important and Effective? Caesars Hospitality Research Summit. Paper 13.

Kasliwal, N., & Agarwal, S. (2016). Green Marketing Initiatives and Sustainable Issues In Hotel Industry. Handbook of Research on Promotoinal Strategies and Consumer Influence in the Service Sector Chapter: Green Marketing Initiatives and Sustainable Issues in Hotel Industry. IGI-Global, U.S.

Kwok, L., Huang, Y-K., & Hu, L. (2015). Green Attributes of Restaurant: What Really Matters to Consumers? International Journal of Hospitality Management, 55, 107-117.

Nordic Swan. (2019). The Nordic Swan Ecolabel. [Online}. Available: http://www.nordic-ecolabel.org/product-groups/. [2019, October 15].

Nyheim, P. (2012). Factors that Lead to Environmentally Sustainable Practices in the Restaurant Industry: A Qualitative Analysis of Two Green Restaurant Innovators. A Dissertation Submitted in the Degree of Doctoral of Philosophy, Department of Learning and Performance System, the Pennsylvania State University.

Paranjpe, S. & Kadam, V. V. (2016). A Study on Consumer Preference of Green Restaurants in Pune. [Online}. Available: https://www.academia.edu/24872193/A_study_on_consumer_preference_of_green_restaurants_in_Pune. [2019, October 3].

Ritchie, H. & Roser, M. (2020). Environmental Impacts of Food Production. OurWorldInData.org. [Online}. Available: https://ourworldindata.org/environmental-impacts-of-food. [2021, August 13].

Salzberg, A. (2016). Adopting Sustainability Innovations in Restaurants: an Evaluation of the Factors Influencing Owner-managers’ Decisions in Richmond, Virginia. A Dissertation Submitted in the Degree of Doctor of Philosophy, Virginia Commonwealth University.

Samnani, A. (2014). Macro-environmental Factors Effecting Fast Food Industry. Food Science and Quality Management. 31.

Schubert, F., Kandampully, J., Solnet, D., & Kralj, A. (2010). Exploring Consumer Perceptions of Green Restaurants in the US. Tourism and Hospitality Research. 10 (4), 286-300.

SRA. (2019). The Sustainable Restaurant Association. [Online]. Available: https://thesra.org. [2019, October 15].

Szuchnicki, A. L. (2009). Examining the Influence of Restaurant Green Practices on Customer Return Intention. A Thesis Submitted in Master of Science, Hotel Administration, University of Nevada Las Vegas.

Tan, B-C., & Yeap, P-F. (2012). What Drives Green Restaurant Patronage Intention? International Journal of Business and Management. 7 (2), 215-223.

Wang, R. (2012). Investigations of Important and Effective Effects of Green Practices in Restaurant. Procedia-Social and Behavioral Science. 40, 94-98.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-12-18

How to Cite

คชาชีวะ ย. ., คำสุพรหม ศ. ., & ชมสวน จ. . (2023). แนวปฏิบัติด้านการจัดการขยะและมลพิษของการประกอบธุรกิจร้านอาหารสีเขียวในประเทศไทย. วารสารวิชาการบัณฑิตวิทยาลัยสวนดุสิต, 18(2), 191–208. สืบค้น จาก https://so19.tci-thaijo.org/index.php/SDUGSAJ/article/view/275