การศึกษาการจัดทำบันทึกข้อตกลงความร่วมมือด้านการวิจัยของมหาวิทยาลัยมหิดล

ผู้แต่ง

  • ถวิลวงศ์ คูหาก้องเกียรติ กองบริหารงานวิจัย สำนักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยมหิดล, จังหวัดนครปฐม 73170
  • ศิราวัลย์ อัศวเมฆิน กองบริหารงานวิจัย สำนักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยมหิดล, จังหวัดนครปฐม 73170

คำสำคัญ:

บันทึกข้อตกลงด้านการวิจัย, การบริหารงานวิจัย, ความร่วมมือการวิจัย

บทคัดย่อ

Mahidol University has got knowledgeable and experienced staff in various disciplines. It has the potential to create collaborative research networks with various organizations to enhance the impact of research outcomes both nationally and internationally. To facilitate the establishment of research collaboration networks between Mahidol University and external organizations,
a mechanism for promoting research cooperation has been developed through the establishment of Memorandums of Understanding (MoUs) for research collaboration. This article studies the structure, components, and key aspects of the MoU, the management, and the process for creating MoUs for research collaboration between the university and external public and private organizations. The study found that the structure of MoUs for research collaboration consists of 4 main parts; including general terms, main content, provisions, and conclusion, and can be categorized into 4 operational steps. Additionally, It studied the data in fiscal year 2020-2022
(1 October 2020 – 30 September 2022) and revealed that the use of the MoUs form reduced the average verification time by approximately 5.39 working days. This demonstrates that the university's form has helped improve operational efficiency, reduce the workload of research administration staff, faculty staff, and legal officers involved in document verification, and shorten the time required for operations.

References

กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น. (2564). คู่มือการจัดทำ MOU ท้องถิ่น. https://www.dla.go.th/servlet/EbookServlet

กุลวรรธ สุริยะศรี. (2562). รายงานการวิเคราะห์: ปัจจัยสาเหตุที่ก่อให้เกิดการแก้ไขเปลี่ยนแปลงสัญญาก่อสร้างในมหาวิทยาลัยขอนแก่น. https://lawdivision.kku.ac.th/wp-content/uploads/2020/02/งานวิเคราะห์-เรื่อง-ปัจจัยสาเหตุที่ก่อให้เกิดการแก้ไขเปลี่ยนแปลงสัญญาก่อสร้าง.pdf

กองกฎหมาย มหาวิทยาลัยมหิดล. (2565). แจ้งแบบบันทึกข้อตกลงความร่วมมือด้านการวิจัย และแบบบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ. https://op.mahidol.ac.th/ra/contents/research_regulation/MOU_RESEARCH-ACADEMIC.pdf

กองบริหารงานวิจัย มหาวิทยาลัยมหิดล. (2561). แนวทางในการจัดทำบันทึกข้อตกลงความร่วมมือด้านการวิจัย. https://op.mahidol.ac.th/ra/contents/research_regulation/Flow_MOU4ResearchCollaboration.pdf

กองแผนงาน มหาวิทยาลัยมหิดล. (2561). หนังสือแผนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยมหิดลระยะ 20 ปี พ.ศ. 2561-2580. กรุงเทพมหานคร: ห้างหุ้นส่วนสามัญ พี.เอส.เพรส.

จิตตานันท์ ติกุล. (2559). การพัฒนารูปแบบการแจ้งเวียนเอกสารโดยการประยุกต์ใช้ Google Forms กรณีศึกษา การรายงานความก้าวหน้าโครงการวิจัย. ใน การประชุมวิชาการการวิจัยและระบบการศึกษาไทย ครั้งที่ 1 (หน้า 114-120). ชลบุรี: โรงแรมนงนุช การ์เด้น รีสอร์ท.

จิตตานันท์ ติกุล และอนุรักษ์ เผยกลาง. (2560). ประสิทธิภาพของการแจ้งเวียนเอกสารโดยการประยุกต์ใช้ Google Form. วารสารวิชาการ ปขมท., 6(2), 55-56.

จรวยพร ศรีศศลักษณ์ และอภิญญา ตันทวีวงศ์. (2551). R2R: Routine to Research สยบงานจำเจด้วยการวิจัยสู่โลกใหม่ของงานประจำ. นนทบุรี: สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.).

งานวินัยและนิติการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. (2566). การจัดทำบันทึกข้อตกลงความเข้าใจ MOU. https://medlaw.medicine.psu.ac.th/filemanager/file/102/66-00150%20การจัดทำบันทึกข้อตกลงความเข้าใจ%20MOU.pdf

ชนินาถ สุริยะลังกา. (2565). ผลกระทบของโรคโควิด19ต่อการบริหารจัดการสัญญาจ้างการวิจัยทางคลินิกมหาวิทยาลัยมหิดล. วารสารวิชาการ ปขมท., 11(3), 140-147.

นพจิรา ฤกษ์จรนามกุล. (2565). การวิเคราะห์เอกสารสัญญาจ้างก่อสร้างเฉพาะสำหรับโครงการก่อสร้างซึ่งใช้การจำลองสารสนเทศอาคาร. https://digital.car.chula.ac.th/Chulaetd/6540/

พีรญา ชื่นวงศ์. (2560). ประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของพนักงาน: กรณีศึกษาธุรกิจการขนส่งในจังหวัดเชียงราย. วารสารเศรษฐศาสตร์และกลยุทธ์การจัดการ, 4(2), 92-100.

มนตรี สังข์ทอง. (2566). สถิติวิจัย: การวิเคราะห์ข้อมูลทางสังคมศาสตร์. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

วิโรจน์ ยิ้มขลิบ, วิภาภรณ์ ภู่วัฒนกุล, อัจฉรา วัฒนาณรงค์, และศักดิ์ชัย นิรัญทวี. (2566). สมรรถนะการวิจัย: การวิจัยจากงานประจำ (Routine to Research: R2R). Lawarath Social e-Journal, 5(1), 176-191.

สำนักกลยุทธ์แผนและงบประมาณ สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม. (2565). แผนด้านวิทยาศาสตร์วิจัยและนวัตกรรมของประเทศ พ.ศ. 2566-2570. ปทุมธานี: บริษัท วิชั่น พรีเพรส จำกัด.

หน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการเพิ่มความสามารถในการแข่งขันของประเทศ (บพข.). (2566). คู่มือสำหรับนักวิจัยที่ได้รับทุนวิจัย บพข. https://pmuc.or.th/wp-content/uploads/2023/06/20230912-คู่มือนักวิจัยที่ได้รับทุน-PMU-C-ใช้งาน.pdf

Downloads

เผยแพร่แล้ว

15-01-2025

How to Cite

คูหาก้องเกียรติ ถ. ., & อัศวเมฆิน ศ. . (2025). การศึกษาการจัดทำบันทึกข้อตกลงความร่วมมือด้านการวิจัยของมหาวิทยาลัยมหิดล. วารสารวิชาการ ปขมท., 14(1). สืบค้น จาก https://so19.tci-thaijo.org/index.php/CUASTJournal/article/view/1342