การพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านเพื่อส่งเสริมสุภาพชุมชน : มุมมองของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านและผู้เกี่ยวข้อง

ผู้แต่ง

  • ศรีงามลักษณ์ ศรีปวริศร

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอภาพรวมความต้องการในการพัฒนาศักยภาพของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านในมุมมองของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านและผู้เกี่ยวข้อง ใน 5 จังหวัดซึ่งผู้เขียนได้มีโอกาสเข้าไปทำงานวิจัยและเข้าร่วมในกิจกรรมการสร้างเสริมสุขภาพชุมชน และเพื่อเสนอแนวทางในการพัฒนาขับเคลื่อนองค์กรอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านให้มีศักยภาพ มีคุณภาพบริการด้านสาธารณสุข และการสร้างเสริมสุขภาพของประชาชนในชุมชน เป็นการวางรากฐานการเสริมสร้างความเข้มแข้งในการให้บริการดูแลขั้นพื้นฐานแก่ตนเอง ครอบครัวและชุมชนที่ตนเองอาศัยอยู่ ตลอดจนช่วยดูแลผู้ป่วยติดเตียง ผู้พิการ ผู้ป่วยที่รักษาไม่หายและอยู่ในระยะสุดของท้ายชีวิต ในเขตที่ตนต้องรับผิดชอบ 8-15 ครัวเรือนให้ทันสมัยและเหมาะสมกับสถานการณ์ในปัจจุบัน เพื่อให้เกิดความมั่นนใจในศักยภาพของตนเอง ซึ่งจะทำให้ประชาชนสามารถเข้าถึงการบริการที่มีคุณภาพ และมีประสิทธิภาพ ตามนโยบายการยกระดับศักยภาพอาสาสสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านของกระทรวงสาธารณสุข ที่คาดหวังว่าจะมีความเชียวชาญ เป็นบุคคลต้นแบบ เป็นแบบอย่างที่ดี สามารถเป็นที่ปรึกษาด้านการส่งเสริมสุขภาพ และมีภาวะผู้นำด้านสุขภาพ ซึ่งจะสามารถลดปัญหาสุขภาพในชุมชนได้อย่างเป็นรูปธรรมและยั่งยืน 

References

กมลทิพย์ ทิพย์สังวาล, นิธิพงศ์ ศรีเบญจมาศ และประจวบ แหลมหลัก. (2561). ผลโปรแกรมการพัฒนาสมรรถนอาสาสมัคร

ดูแลผู้สูงอายุในชุมชน. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยราชภัพิบูลสงคราม

(1), 275-291.

กระทรวงสาธารณสุข.กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ.(2554).คู่มือ อสม.ยุคใหม่. กรุงเทพมหานคร : ชุมนุม

สหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.

ปรางค์ จักรไชย.อภิชัย คุณีพงษ์.วรเดช ช้างแก้ว (2560). ปัจจัยที่มีผลต่อการปฏิบัติงานของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำ

หมู่บ้าน (อสม.) ในทีมหมอครอบครัวจังหวัดปทุมธานี. วารสารพยาลสาธารณสุข, 31(1), 16–28.

ฉวืวรรณ ศรีดาวเรืองและคณะ.(2564). การถอดบทเรียนรูปแบบการดำเนินงาน เฝ้าระวัง ป้องกัน และ

ควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในชุมชนของอาสาสมัครสาธารณสุขปรำหมู่บ้าน

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ประเทศไทย. นนทบุรี.สถาบันพระบรมราชชนก กระทรวงสาธารณสุข.

ชนิดา เตชะปัน.(2561). ผลของโปรแกรมการเสริมสร้างพลังอำนาจของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน(อสม.)ในการ

ดำเนินงานด้านสุขศึกษาชุมชนในเทศบาลตำบลป่าไผ่ อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่.วิทยานิพนธ์สาธารณสุข

ศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์,บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

ณัฐนนท์ บริสุทธิ์.(2563). การศึกษาสถานการณ์และทิศทางพัฒนา อสม.ในยุคไทย 4.0. นนทบุรี.กลุ่มยุทธศาสตร์และ

แผนงานกองสนับสนุนสุขภาพภาคประชาชน กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ.

ธรณินทร์ คุณแขวน.ศรีงามลักษณ์ ศรีปวริศร.(2564). รูปแบบที่เหมาะสมในการป้องกันโรคข้อเข่าเสื่อมในผู้สูงอายุของ

อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านตำบลนาฝายและตำบลโพนทอง จังหวัดชัยภูมิ.

คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ.

นิตย์ ทัศนิยม.( 2554). การสอนวิชาการส่งเสริมสุขภาพ โดยใช้ฐานคิดการสร้างพลังอำนาจ.วารสารสภาการ

พยาบาล, 26 (ฉบับพิเศษ) 17-29.

นิตยา เพ็ญศิรินภา (2548). หน่วยที่ 10 การสร้างพลังชุมชนในงานสาธารณสุข. เอกสารการสอนชุดวิชา

ประสบการณ์วิชาชีพสาธารณสุข หน่วยที่9-15. นนทบุรี:โรงพิมพ์ม มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

นาฏยา นุชนาถ.ศิริชัย เพชรรัตน์.สุเทพ เชาวลิต.(2561). การพัฒนาสมรรถนะอาสาสมัครสาธารณสุขประจำ

หมู่บ้านจังหวัดสุพรรณบุรี.วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจร 6 (2) :768-779.

มินตรา สาระรักษ์. (2553). การเสริมสร้างศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.)

วารสารวิชาการ มอบ.,12(2), 39-47.

มูลนิธิเพื่อการพัฒนานโยบายสุขภาพแห่งชาติ.(2564). บัญชีรายจ่ายสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.2560-2562.

กรุงเทพมหานคร. เอกสารอัดสำเนา.

ศรีงามลักษณื ศรีปวริศร. (2559, 22-23 ธันวาคม). การสร้างเสริมสุขภาพชุมชนของอาสาสมัครสาธารณสุข

ประจำหมู่บ้าน [เอกสารนำเสนอ]. วารสารการประชุมวิชาการระดับชาติ “ราชมงคลสุรินทร์วิชาการ ครั้งที่ 8 วิจัยเพื่อประเทศไทย 4.0” มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี่ราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์, สุรินทร์, ประเทศไทย.

สำนักงานสถิติแห่งชาติ. สถิติสุขภาพ. (ม.ป.ป.). http://statbbi.nso.go.thWorld Health organization.

(2020). South -East Asia: Thailand. https://www.who.int/thailand/ news/ feature-

stories/detail/Thailand.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-12-13

How to Cite

ศรีปวริศร ศ. . (2022). การพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านเพื่อส่งเสริมสุภาพชุมชน : มุมมองของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านและผู้เกี่ยวข้อง. วารสารวิชาการเฉลิมกาญจนา (Online), 9(2), 95. สืบค้น จาก https://so19.tci-thaijo.org/index.php/cnujournal/article/view/262