ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุ ตำบลห้วยยูงและ ตำบลช้างซ้าย อำเภอพระพรหม จังหวัดนครศรีธรรมราช
คำสำคัญ : ปัจจัย ภาวะซึมเศร้า ผู้สูงอายุ
บทคัดย่อ
การวิจัยแบบภาคตัดขวางนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่ความสัมพันธ์กับภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุตำบลห้วยยูงและตำบลช้างซ้าย อำเภอพระพรหม จังหวัดนครศรีธรรมราช กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 400 คน ดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น ซึ่งประกอบด้วยแบบสำรวจข้อมูลทั่วไป แบบสำรวจด้านสุขภาพ และแบบสำรวจภาวะซึมเศร้าในผู้สุงอายุระหว่างเดือน เมษายน 2566 ถึง สิงหาคม 2566 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา นำเสนอข้อมูลโดยใช้ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และวิเคราะห์ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุ ตำบลห้วยยูงและตำบลช้างซ้าย อำเภอพระพรหม จังหวัดนครศรีธรรมราช หาความสัมพันธ์โดยใช้สถิติไคสแควร์ (Chi-Square Test) ผลการวิจัยพบว่า แหล่งที่มาของรายได้ ความรู้สึกต่ออาการเจ็บป่วย ความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน และสัมพันธภาพในครอบครัว มีความสัมพันธ์ต่อภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05 เมื่อพิจารณาจากผลการศึกษาแล้วปัจจัยของแหล่งที่มาของรายได้ ความรู้สึกต่ออาการเจ็บป่วย ความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน และสัมพันธภาพในครอบครัว เป็นปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุดังนั้นการป้องกันภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุควรให้ความสำคัญกับปัจจัยดังกล่าว
References
กรมกิจการผู้สูงอายุ, (2566). สถานการณ์และแนวโน้มสังคมผู้สูงอายุไทย พ.ศ. 2556 – 2573. สืบค้นจาก
https://www.dop.go.th/th/know/1/47.
กรมกิจการผู้สูงอายุ, (2566). สังคมผู้สูงอายุในปัจจุบันและเศรษฐกิจในประเทศไทย. สืบค้นจาก
https://www.dop.go.th/th/know/15/926
จินตนา เหลือศิริเธียร. ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการสนับสนุนทางสังคมกับภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุในจังหวัด เพชรบูรณ์. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ; 2550.
ทิปภา ชุติกาญจน์โกศล, (2566). อาการซึมเคร้าในผู้สูงอายุอันตรายกว่าที่คิด. สืบค้นจากhttps://www.samitivejhospitas.com
ธนัญพร พรหมจันทร์. ภาวะซึมเศร้า ความว้าเหว่ และการเห็นคุณค่าในตนเองของผู้สูงอายุที่พักอาศัยในสถาน
สงเคราะห์คนชราบ้านบางแค และที่พักผู้สูงอายุของเอกชนในเขตกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ปริญญา
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสุขภาพจิต ภาควิชาจิตเวชศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย; 2556.
นิรัชรา ศศิธร. ภาวะซึมเศร้าและปัจจัยทางจิตสังคม ที่เกี่ยวข้องของผู้สูงอายุในชมรมผู้สูงอายุสังกัดศูนย์บริการ
สาธารณสุข 48 นาควัชระอุทิศ. วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย; 2557.
นภา พวงรอด. (2558) การศึกษาภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุในจังหวัดนนทบุรี. วารสารมหาวิทยาลัยนราธิวาสราช
นครินทร์, 2(1), 63-74
บุษราคัม จิตอารีย์. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุในชุมชน จังหวัดนครปฐม. ปริญญาพยาบาลศาสตร
มหาบัณฑิต สาขาวิชาการพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยคริสเตียน; 2555.
มาโนช ทับมณี. ภาวะซึมเศร้าและภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุไทยชุมชนเขตกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธวิทยา
ศาสตรมหาบัณฑิต สาขาจิตวิทยาคลินิก บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล; 2541.
สายพิณ ยอดกุล. ปัจจัยทำนายภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุโรคเรื้อรังที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลบุรีรัมย์. วิทยานิพนธ์ปริญญาพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ คณะพยาบาลศาสตร์
มหาวิทยาลัยขอนแก่น; 2555.
สุชาดา แซ่ลิ่ม. (2562). การศึกษาความชุกและปัจจัยที่มีผลต่อภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุใน อำเภอเมือง จังหวัดระนอง.
วารสารวิชาการแพทย์เขต 11, 33(1), 193-201.
สุรเดชช ชวะเดช. (2562) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุอำเภอห้วยทับทัน จังหวัดศรีสะเกษ.
วารสารการแพทย์และสาธารณสุข มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, 2(3), 174-181.
อัญชลี พงศ์เกษตร, ซูฮัยลา สะมะแอ, กมลวรรณ วณิชชานนท์, กรกฎ พงศ์เกษตรและ ศุภฤกษ์ วิทยกุล. (2562). ภาวะ
ซึมเศร้าของผู้สูงอายุในเขตเทศบาลนครยะลา: กรณีศึกษาชุมชนผังเมือง 4. วารสารเครือข่ายวิทยาลัย
พยาบาลและการสาธารณสุขภาคใต้, 6(3), 14-26.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 วารสารวิชาการเฉลิมกาญจนา

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.