ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับระดับความเมื่อยล้าจากการทำงานของกลุ่มหัตถกรรมจักสาน ไม้ไผ่บ้านดอนกลอง ตำบลหนองเรือ อำเภอเมือง จังหวัดยโสธร
บทคัดย่อ
การวิจัยเรื่องปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับระดับความเมื่อยล้าจากการทำงานของกลุ่มหัตถกรรมจักสานไม้ไผ่บ้านดอนกลอง ตำบลหนองเรือ อำเภอเมือง จังหวัดยโสธร มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินความเสี่ยงทางการยศาสตร์จากการทำงาน เพื่อประเมินความเมื่อยล้าจากการทำงาน และเพื่อวิเคราะห์ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับระดับความเมื่อยล้าจากการทำงานในผู้ประกอบการกลุ่มหัตถกรรมจักสานไม้ไผ่บ้านดอนกลอง จำนวน 46 คน โดยใช้เครื่องมือ (Rapid Upper Limp Assesment RULA), (Rapid Entire Body Assessment REBA) และข้อมูลอาการปวดเมื่อยตามโครงร่างและกล้ามเนื้อ(Body discomfort) วิเคราะห์ข้อมูล ด้วยสถิติเชิงพรรณนา (Descriptive statistics) และสถิติไคสแควร์ (Chi-squar) กลุ่มตัวอย่างรับรู้การสัมผัสปัจจัยด้านการยศาสตร์ในส่วนของ ท่าทางการทำงานที่ไม่เหมาะสม เช่น ก้มศีรษะขณะทำงาน ก้มโค้งลำตัวขณะทำงาน
References
ปิยตา สุนทรปิยะพันธ์ และภัทรวดี อินทปันตี (2562) การถ่ายทอดภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมด้านหัตถกรรมผลิตภัณฑ์จักสานกระจูดบ้านห้วยลึก จ.สุราษฎร์ธานี, สืบค้นเมื่อ 11 สิงหาคม 2565, จากli01.tci-thaijo.org
นิตยา พันธมาศ อาภัสรา อินทมาศ และอุไรวรรณ หมัดอ่าคัม. (2559) การปรับปรุงสถานีงานเพื่อลดอาการปวดหลังส่วนล่างของผู้ประกอบอาชีพมาดอวน. สืบค้นเมื่อ 3 ธันวาคม 2565, จาก http://www.srisangworn.go.th
รัฐวุฒิ สมบูรณ์ธรรม.(2560). การปรับปรุงสภาพการทำงานโดยใช้หลักการยศาสตร์ สืบค้นเมื่อ 11สิงหาคม 2565 จาก http://digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/597.pdf.
สภาพรรณ จิรนิรัติศัย (2560) ภาวะผิดปกติของกล้ามเนื้อและกระดูกในคนงานกลุ่มวิสาหกิจชุมชนประเภทผ้า สืบค้นเมื่อวันที่ 3 กันยายน 2565, จาก http://www ryssurvey.com
อารยา วุฒิกล. (2559) ปัจจัยด้านการยศาสตร์และอาการผิดปกติในระบบโครงร่างกล้ามเนื้อ ในแรงงานหัตถกรรมไม้ไผ่, สืบค้นเมื่อวันที่ 1 มกราคม 2566, จาก https://www.kmutt.ac.th
อรุณีย์ พรหมศร (2560) การประเมินท่าทางการทำงานและการบาดเจ็บจากการทำงานในกลุ่มผู้จักสานผักตบชวา.ค้นคว้าเมื่อวันที่ 1 ธันวาคม 2565, จาก https: /www.tci-thaijo.org
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 วารสารวิชาการเฉลิมกาญจนา

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.