การพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนด้านการคัดกรองนักเรียนของโรงเรียนพร้าววิทยาคม จังหวัดเชียงใหม่

ผู้แต่ง

  • ฐากร ปรางยิ้ม คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเฉลิมกาญจนา
  • สุทธิรักษ์ บุญศักด์ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเฉลิมกาญจนา
  • สุภาวดี จงใจ คณะบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยเฉลิมกาญจนา

คำสำคัญ:

พัฒนา, ช่วยเหลือ, คัดกรอง, ระบบดูแล, โรงเรียน

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพและปัญหาของระบบการบริหารจัดการงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนด้านการคัดกรองนักเรียนของโรงเรียนพร้าววิทยาคม จังหวัดเชียงใหม่ พัฒนารูปแบบการบริหารจัดการงานดังกล่าว และทดสอบความพึงพอใจต่อการใช้งาน โดยใช้กระบวนการวิจัยและพัฒนา (Research and Development) กลุ่มเป้าหมายประกอบด้วยคณะครูในโรงเรียนพร้าววิทยาคม เครื่องมือวิจัยคือแบบสัมภาษณ์และแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า ระบบปัจจุบันมีปัญหาในการใช้โปรแกรมคัดกรองและการจัดเก็บข้อมูลที่ซับซ้อน จึงพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการที่มี 4 ขั้นตอนหลัก คือ การวางแผน การดำเนินการ การตรวจสอบ และการปรับปรุงแก้ไข เมื่อทดสอบกับครูผู้ใช้ พบว่ารูปแบบใหม่มีประสิทธิภาพสูง ช่วยลดเวลาในการดำเนินการและสอดคล้องกับบริบทของโรงเรียน โดยผู้ใช้แสดงความพึงพอใจในระดับสูง (ค่าเฉลี่ย 4.74)

References

จิรวัฒน์ หล้าชมภู. ปัญหาและแนวทางการพัฒนาระบบสารสนเทศโรงเรียนอนุบาลระยอง

สังกัดสํานักงานเขตพื้น ที่การศึกษาระยองเขต 1.ระยอง:ปริญญานิพนธ์การศึกษา

มหาบัณฑิตสาขาวิชาการบริหารการศึกษามหาวิทยาลยับูรพา,2554.

จีระพงษ์หอมสุวรรณ และคณะ.การมีส่วนร่วมในการบริการงานวิชาการของครูโรงเรียนวัตยาราม.

กรุงเทพฯ:ปริญญาดุษฎีบณั ฑิตสาขาวิชาการบริหารการศึกษา

คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 2556.

จีรศักดิ์ ศรีโยธา และสุรเชตน้อยฤทธิ์. “การพฒั นาระบบสารสนเทศงานกิจการนักเรียน

โรงเรียนอนุบาลพรเจริญ อำเภอพรเจริญ จังหวัด หนองคาย”, 15 มิถุนายน 2554.

http://www.km.ictbk.net/?name=research?&file=readresearch&id=70.

ตุลาคม 2557.

จันทรานี สงวนนาม. ทฤษฎีและแนวปฏิบัติในการบริหารสถานศึกษา. กรุงเทพฯ : บุ๊คพอยท,2550.

ชญานี ภัทรวารินทร์.การพัฒนารูปแบบการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานของโรงเรียน

เอกชน.กรุงเทพฯ:วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิตสาขาวิชาการบริหารการศึกษา

มหาวิทยาลัยสยาม, 2556.

ชุมพล เสมาขนั ธ์. “รูปแบบการวิจยั และพัฒนา”, วารสารวทิ ยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ

พิบูลสงคราม.102,ฉบับ พิเศษ(มกราคม-ธันวาคม2552):97.

ชูวิทย์ สิงห์โท.แนวคิดเกี่ยวข้องในการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน.อุดรธานี :

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาอุดรธานี เขต 1, ม.ป.ป.

ณรงค์ แก้วกัญญา. การพัฒนาระบบสารสนเทศงานกิจการนักเรียน โรงเรียนโนนไทย

คุรุอปุถัมภ์ อำเภอโนนไทย จังหวัดนครราชสีมา. นครราชสีมา : ปริญญานิพนธ์

การศึกษามหาบณั ฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลยั มหาสารคาม, 2555.

ธีรภัทร มงคลนาวิน. รายงานการจัดประชุมเอกอัครราชทูตกงสุลใหญ่เพื่อการกำหนดทิศทาง และการบริหารจัดการภารกจิ ด้านการต่างประเทศอย่างมีประสิทธิภาพ.หลักสูตรบริหารการทูตกระทรวงต่างประเทศ,2556.

บรรทม รวมวิจิตร. การศึกษาสภาพการดําเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน โรงเรียนเวียง แก่นวิทยาคม สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาเชียงราย เขต 4. เชียงราย : ปริญญานิพนธ์ ครุศาตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เชียงราย, 2553.

เบญจพร ทศานนท์. “สภาพและปัญหาการดำเนินงานระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนของ โรงเรียน

สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 6 จังหวัดสมุทรปราการ”, OJED. 9, 3 (2014) : 522-536.

พิพัฒน์ ประดับ เพชรและคณะ. “ทฤษฎีและแนวปฏิบัติในการบริหารการศึกษา”, การบริหาร และการพัฒนามหาวิทยาลัยมหาสารคาม.2,2(พฤษภาคม-สิงหาคม2553):161.

เพชราภรณ์อาจศิริ.การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารงานวิชาการโรงเรียนบ้านหนอง อำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา. นครราชสีมา : ปริญญานิพนธ์การศึกษา มหาบัณฑิตสาขาวิชาการบริหารการศึกษามหาวิทยาลัยมหาสารคาม,2553.

เพชรินสงค์ ประเสริฐ. “การพัฒนารูปแบบการบริหารงานวิชาการโดยยึด หลักการทำงานเป็นทีมในสถานศึกษาข้นั พ้ืนฐาน”,ศึกษาศาสตร์มหาวทิ ยาลยั นเรศวร.10,2 (พฤษภาคม-สิงหาคม 2551) : 48-64.

ไพทูลย์ พิทักษ์และคณะ.“รูปแบบการบริหารจดั การงานวิชาการแบบมีส่วนร่วมของโรงเรียน

ภูมินทร์ นาวาพานิช. “สภาพและปัญหาการบริหารจดั การงานกิจการนักเรียนด้านปกครองของ

โรงเรียนวัด กระจับ พินิจ สงั กดั กรุงเทพมหานคร เขตธนบุรี”, OJED. 7, 1 (2012) : 477-491.

กุตนันท์ หวานฉ่ำ. การบริหารสถานศึกษากับประสิทธิผลของโรงเรียนในอำเภอคลองหลวง

สังกัดสํานักงานเขตพื้น การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานีเขต1.กรุงเทพฯ : ปริญญา นิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาเทคโนโลยี ราชมงคลธญั บุรี,2555.

โรงเรียนพร้าววิทยาคม. แผนกลยุทธ์การจัดการศึกษาประจําปี การศึกษา 2558-2559. เชียงใหม่ : โรงเรียนพร้าววิทยาคม, 2558.

วาโร เพ็งสวัสดิ์. “การวิจัยพัฒนารูปแบบ”, มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร. 2, 4 (กรกฎาคม- ธนั วาคม2553):1-15

วรรณพร พุทธภูมิพิทักษและกัญญามน อินหว่าง. ทฤษฎีองค์การและการจัดการ. พิษณุโลก : มหาวิทยาลัยพิษณุโลก, 2554.

วิเชียรวิทยอุดม.การจัดการสมัยใหม่.กรุงเทพฯ:ธนธัชการพิมพ์,2554.

วินัย ดิสสงค์. การบริหารโรงเรียนแบบมีส่วนร่วม. กรุงเทพฯ : สานักพิมพธ์อักษร, 2550.

วิโรจน์ สารรัตนะ. Action Research. หลกั สูตรศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยมกุฏราชวิทยาลัย, 2556.

วีรชน นามโคตร.การพัฒนาระบบสารสนเทศโรงเรียนวัดอนิทาราม.กรุงเทพฯ : ปริญญานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสาสนเทศ มหาวิทยาลัยศิลปกร

Ewa Ziemba , Iwona Oblak. “The Survey of Information Systems in Public Administration in Poland”, Interdisciplinary Journal of Information, Knowledge, and Mangement.

(2014) : 31-56.

Krishnaveni R, Meenakumari J. “Usage of ICT for Information Administration in Higher education Institutions – A studycc”, International Journal of Environmental Science and Development. 1, 3 (2002) : 282.

Lisa D. Ordonez, Maurice E. Sschweizer, Adam D. Galinsky, Max H. Bazerman. “Goals Gone Wild”, The Systematic Side Effects of Over-Prescribing Goal Setting. Working papers. 23, 1 (2009) : 6-16.

Hall PA. "Systematic process analysis : when and how to use it”, Europern Management Review. 3, 1 (2006) : 24-31.

Sally CS, Jessica E. Sowa, Jodi S. “The Impact of Nonprofit Collaboration in Early Child Care and Education on Management and Program Outcomes”, Public Administration Review. 66, 3 (2006) : 412-425.

Hixon, Emily. “Team-based online course development: A case study of collaboration

models”, Online Journal of Distance Learning Administration

, 4 (2008) : 8.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-11-27

How to Cite

ปรางยิ้ม ฐ. ., บุญศักด์ ส. ., & จงใจ ส. . (2024). การพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนด้านการคัดกรองนักเรียนของโรงเรียนพร้าววิทยาคม จังหวัดเชียงใหม่. วารสารวิชาการเฉลิมกาญจนา (Online), 10(1), 189–199. สืบค้น จาก https://so19.tci-thaijo.org/index.php/cnujournal/article/view/1143