ทักษะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัล

ทักษะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัล

ผู้แต่ง

  • อำนวย มีราคา คณะศึกษาศาสตร์ วิทยาลัยพิชญบัณฑิต
  • ปราณี คนสวย ผู้อำนวยการโรงเรียนกฤชานันท์

คำสำคัญ:

ทักษะผู้นำ, ผู้บริหาร, ยุคดิจิทัล

บทคัดย่อ

ในยุคดิจิทัลผู้บริหารสถานศึกษาจำเป็นต้องมีทักษะเพื่อการแสวงหาความสำเร็จในองค์กรการศึกษา ทักษะผู้นำในยุคนี้ต้องควบคุมถึงความสามารถในด้านต่างๆ มีความสามารถในการปรับตัวด้านการใช้ เทคโนโลยีที่เกิดขึ้นใหม่ ๆ และรู้จักหาวิธีที่จะพัฒนาองค์กรอยู่ตลอดเวลา การเตรียมความพร้อมที่จะ เปลี่ยนแปลง ผู้บริหารต้องเรียนรู้ตลอดชีวิต คิดเชิงกลยุทธ์แบบอนาคต รู้จักกระจายความเป็นผู้นำ ในองค์กร และการบูรณาการระหว่างความรู้เดิมกับสิ่งที่ได้เรียนรู้ใหม่มาใช้ในการพัฒนา ผู้บริหาร สถานศึกษาที่มีความรู้ ความเข้าใจ และมีวิสัยทัศน์เกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีสนับสนุนการเรียนรู้ โดยนำไปกำหนดวิสัยทัศน์     พันธกิจ และจุดมุ่งหมายในการบริหารจัดการสถานศึกษา มีภาวะผู้นำเชิงเทคโนโลยี มีความเป็นผู้นำองค์กรด้านนวัตกรรม จะทำให้องค์กร กลายเป็นองค์กรแห่งนวัตกรรม สามารถนำเทคโนโลยีมาใช้กับการบริหารจัดการสถานศึกษาในการจัดการเรียนรู้สำหรับผู้เรียนได้อย่างเหมาะสม เพื่อเป็นแนวทางสำหรับทักษะผู้บริหารสถานศึกษาเพื่อให้ สอดคล้องกับเป้าหมายและการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นในอนาคต

References

จิรพล สังข์โพธิ์ และคณะ. (2559). ภาวะผู้นำในการบริหารองค์กรยุค ดิจิทัล กรณีศึกษา : องค์กรไอทีและองค์กรที่เกี่ยวข้องกับไอทีในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล. วิทยาลัยนวัตกรรมมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ชูชาติ พุทธมาลา. (2561). องค์ประกอบถาวะผู้นำทางดิจิทัลของผู้บริหารโรงเรียนสังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจังหวัดหนองบัวลำภู. วิทยานิพนธ์ ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

มนูญ พรมรักษา. (2554). พฤติกรรมภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษาขนาดเล็ก สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 1. การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง ศษ.ม. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

สุกัญญา แช่มช้อย. (2562). การบริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัล. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

พิมลพรรณ เพชรสมบัติ. (2560). ภาวะผู้นำกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์. วารสาร มจร การพัฒนา สังคม, 2(1), 1-10.

พรรณทิพย์ ศิริภัทราพงษ์. (2563). การบริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัล. สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ภานุมาศ จันทร์ศรี. (2562). โมเดลการพัฒนาภาวะผู้นำเชิงดิจิทัลของผู้บริหารโรงเรียนขยาย โอกาสทางการศึกษา: การวิจัยแบบผสมผสานวิธี. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตร มหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหาร การศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

เสริมศักดิ์ วิศาลาภรณ์. (2551). สภาพการจัดการศึกษาในจังหวัดชายแดนภาคใต้. สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา.

ณิรดา เวชญาลักษณ์. (2560), ภาวะผู้นำทางการบริหาร. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

อำนวย พลรักษา. (2556). ทักษะการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 2. วิทยานิพนธ์ปริญญาพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

อำนวย มีราคา. (2566). การบริหารจัดการศึกษาสู่ความเป็นเลิศ. หจก.สมศักดิ์การพิมพ์ กรุ๊ป.

American Library Association. (2012). Digital literacy, libraries, and public policy.

Dubrin. (2012). Leadership research findings, Practice, and skill (7 th ed.). South Western, Cengage Learning.

Drake, L. Roe, W. H. (1986). The Principal-Ship. Macmillan.

Gorton, C. Gorton, B. (2018). 6 Characteristics of Digital Leadership. https://digileaders.com/6-characteristics-digital-leadership/.

Koontz, H., Weihrich, H. (1988). Management (9th ed). McGraw-Hill.

Martin, A., & Grudziecki, J. (2006). DigEuLit: Concepts and Tools for Digital Literacy Development. ITALICS: Innovations In Teaching & Learning In Information & Computer Sciences, 5(4), 249-267.

Mitchell, Terrence R., and Larson. Jr. Jane R. (1987). People in Organization : An Introduction to Organizational Behavior (3rd ed). McGraw–Hill.

Sullivan, Thomas P. (1997). Environmental law handbook. Government institutes.

Stogdill, R. M. (1974). Handbook of Leadership : A Servey of Theory and Research. The Free Press.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2025-04-14