บทบาทของโซเชียลมีเดียกับการบริหารงานภาครัฐในช่วงภัยพิบัติทางธรรมชาติ ของประชาชนชาวไทย
คำสำคัญ:
โซเชียลมีเดีย, การบริหารงานภาครัฐ, ภัยพิบัติทางธรรมชาติ, ประชาชนชาวไทยบทคัดย่อ
บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาบทบาทของโซเชียลมีเดียกับการบริหารงานภาครัฐในช่วงภัยพิบัติทางธรรมชาติของประชาชนชาวไทย ผลการศึกษาพบว่า ในยุคดิจิทัลโซเชียลมีเดียมีบทบาทสำคัญในการบริหารงานภาครัฐ โดยเฉพาะในช่วงเวลาภัยพิบัติทางธรรมชาติ ซึ่งเป็นช่วงเวลาที่ประชาชนต้องการข้อมูลข่าวสารอย่างรวดเร็วและถูกต้อง บทบาทของโซเชียลมีเดียในการสื่อสารระหว่างภาครัฐและประชาชนชาวไทยในช่วงภัยพิบัติทางธรรมชาติ เช่น น้ำท่วม ดินถล่ม และพายุไต้ฝุ่น การศึกษาเน้นถึงการใช้งานของแพลตฟอร์มต่าง ๆ เช่น Facebook, Twitter และ Line เพื่อเผยแพร่ข้อมูลการแจ้งเตือนและให้ความช่วยเหลือ รวมถึงการมีส่วนร่วมของประชาชนในการสื่อสารและให้ข้อมูลที่สำคัญแก่ภาครัฐ โซเชียลมีเดียมีบทบาทสำคัญในการเสริมสร้างความเชื่อมั่นของประชาชนในการบริหารจัดการภัยพิบัติของภาครัฐ ทั้งในด้านการตอบสนองที่รวดเร็วและการกระจายข้อมูลที่มีประสิทธิภาพ อย่างไรก็ตาม การจัดการข้อมูลข่าวสารที่ถูกต้องและการป้องกันการแพร่กระจายของข่าวยังคงเป็นความท้าทายที่ต้องการการพัฒนาเพิ่มเติมมากขึ้น
References
กรกฎ จำเนียร. (2561). การรายงานข่าวของนักสื่อสารชุมชนในภาวะวิกฤตน้ำท่วม: กรณีศึกษา วิกฤตน้ำท่วมหนักที่สุดในรอบ 50 ปี ของ จ.นครศรีธรรมราช. ศรีปทุมปริทัศน์ ฉบับมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 18(1), 117-226.
กฤษณะ แสงจันทร. (2565). แนวทางการพัฒนานวัตกรรมการสื่อสารผ่านแอปพลิเคชันเตือนภัยแผ่นดินไหวจังหวัดเชียงราย. วารสารมนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์ปริทัศน์, 10(2), 111-124.
กัมปนาท วงษ์วัฒนพงษ์. (2565). ชุมชนกับการจัดการภัยพิบัติ: กรณีศึกษาอำเภอบางระกำ จังหวัดพิษณุโลก. วารสารพิกุล, 20(1), 47-65.
ชูวงศ์ อุบาลี. (2557). การบริหารจัดการภัยพิบัติ บทบาทขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจังหวัดจันทบุรี. สำนักงานผู้ตรวจการแผ่นดิน, 7(2), 51-69.
ณัฐพล ดีโต. (2565). โซเชียลมีเดียกับการเคลื่อนไหวทางสังคม : กรณีศึกษากิจกรรมคาร์ม็อบภาคเหนือ พ.ศ. 2564. การประชุมนำเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษา, 17, 65-77.
ณัฐพล ไพศาลวิโรจน์รักษ์. (2566). เทคโนโลยีสมัยใหม่และผลกระทบต่อระบบการศึกษาไทยในปัจจุบัน. วารสารนวัตกรรมการเรียนรู้และการศึกษาทั่วไป, 1(2), 34-46.
นภษร สร้อยยอดทอง. (2563). ภัยพิบัติกับการจัดการของเกษตรกรไทย. วารสารการพัฒนาการเรียนรู้สมัยใหม่, 5(4), 173-185.
นฤมล สมรรคเสวี. (2557). ภาวะวิกฤตจากภัยพิบัติทางธรรมชาติกับบทบาทพยาบาล. วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต, 28(2), 1-16.
บุญชิรา ภู่ชนะจิต. (2566). สื่อสังคมออนไลน์ต่อการรณรงค์ทางการเมือง. วารสารพุทธสังคมวิทยาปริทรรศน์, 8(2), 204-220.
ปภัสรา พรมมา และ ไวพจน์ กุลาชัย. (2567). ผลกระทบของการใช้โซเชียลมีเดียในการสื่อสารนโยบายพรรคการเมืองต่อการตัดสินใจเลือกตั้ง. วารสารวิชาการรัตนบุศย์, 6(2), 680-698.
พระณัฐวุฒิ พันทะลีและคณะ. (2565) การมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนผ่านสื่อสังคมออนไลน์. วารสารการจัดการและพัฒนาท้องถิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม, 2(1), 83-93.
สิงห์ทอง หมีทอง และ บรรพต วิรุณราช. (2560). รูปแบบการจัดการภัยคุกคามรูปแบบใหม่แบบบูรณาการด้านภัยพิบัติธรรมชาติ กรณีศึกษาแผ่นดินไหว. วารสารวิทยาลัยพาณิชยศาสตร์บูรพาปริทัศน์, 12(2), 123-138.
อิทธิพล จันทร์รัตนกุลและคณะ. (2564). บทบาทของหน่วยงานภาครัฐต่อการใช้สื่อสังคมออนไลน์. วารสารครุศาสตร์ปริทรรศน์ฯ, 8(1), 222-235.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2025 วารสารสินธุ์โสธร

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
Authors who publish with Journal of TCI agree to the following terms:
- Authors retain copyright and grant the journal right of first publication with the work simultaneously licensed under a Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) that allows others to share the work with an acknowledgment of the work's authorship and initial publication in this journal.
- Authors are able to enter into separate, additional contractual arrangements for the non-exclusive distribution of the journal's published version of the work (e.g., post it to an institutional repository or publish it in a book), with an acknowledgment of its initial publication in this journal.
- Authors are permitted and encouraged to post their work online (e.g., in institutional repositories or on their website) prior to and during the submission process, as it can lead to productive exchanges, as well as earlier and greater citation of published work.