The change of land reform and economic growth in Samsen community after Dusit palace was built in the decade of 2440-2450 BE

Main Article Content

Ittigorn Thongkamkaew

Abstract

This article studies about Samsen community after Dusit palace was built in the decade of 2440 BE which is the period of huge change that turns Samsen community to modern section. The change takes place within it in response to varying conditions from land reform, economic growth under state capitalism as well as Chinese immigration which prominent contributes to economic development in Samsen area more than the original land owner, Vietnamese ethnic groups. Although these 2 factors can generate the growth of a modern economy, the inevitable fact is it leads to crime issue and put the government agency in a jam, handling things in Samsen area with difficulty as well.

Article Details

How to Cite
Thongkamkaew, I. (2023). The change of land reform and economic growth in Samsen community after Dusit palace was built in the decade of 2440-2450 BE. SWU Journal of History, 47(1), 150–168. retrieved from https://so19.tci-thaijo.org/index.php/JOH/article/view/175
Section
Academic Articles

References

หอจดหมายเหตุแห่งชาติ. น.5.7 ก/29 มีไข้กาฬโรคขึ้นที่บ้านพวกเขมรถือศาสนาโนมันคาลิกตำบลสามเสน หมอคาทิวได้จัดการแลแนะนำให้บาดหลวงฝังศพคนที่เข้ารีดเป็นกาฬโรคตายนั้นแล้ว (5 เม.ย. 125-31 มี.ค. 125).

หอจดหมายเหตุแห่งชาติ. น.7.7/54 สำรวจเงินค่านาศก 123 มณฑลกรุงเทพฯ (30 มิ.ย. 124).

หอจดหมายเหตุแห่งชาติ. น.7.7/55 กำหนดอัตราเก็บเงินอากรค่านาจำนวนศก 124 ในท้องทุ่งอำเภอต่างๆ มณฑลกรุงเทพ (20 ก.ค.-20 ธ.ค. 124).

หอจดหมายเหตุแห่งชาติ. น.5.8/8 แก้ไขถนนสามเสน (เม.ย. 118-6 พ.ย. 119).

หอจดหมายเหตุแห่งชาติ. น.5.12/8 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้กระทรวงนครบาลออกประกาศจัดการสะอาดในจังหวัดพระนคร ศก 117 ตามซึ่งพระยาเทเวศร์กราบบังคับทูลด้วยเรื่องถนนสามเสน (2 มิ.ย. 118).

หอจดหมายเหตุแห่งชาติ. น.5.12/11 จัดการระงับสิ่งโสโครกต่างๆ ในบริเวณวังสวนดุสิต (25-29 ก.ค. 118).

หอจดหมายเหตุแห่งชาติ. น.5.12/13 ขอให้พลตระเวนว่ากล่าวจับกุมผู้ทิ้งของโสโครกที่ถนนสามเสนตอนบน (22 พ.ย. 118).

หอจดหมายเหตุแห่งชาติ. น.8.1/224 นายอุย, กับพวกพากันตัดต้นไม้ของหลวงที่สวนดุสิตแลปาเรือนผู้รักษาสวน ฃอให้รงับเหตุทำโทษเสียให้เข็ดหลาบบ้างจะสดวกแก่ผู้รักษาสวนต่อไปด้วย (29 ก.ค.-6 ส.ค. 127).

หอจดหมายเหตุแห่งชาติ. น.8.1/233 ตรวจสุราเถื่อนที่บ้านญวน (11-13 ต.ค 121).

หอจดหมายเหตุแห่งชาติ. น.8.1/455 พวกญวนสามเสน.

หอจดหมายเหตุแห่งชาติ. น.8.9 ค/23 จีนหลิม บังคับสยามขอตั้งโรงรับจำนำที่ตำบลริมบ่อนสามเสน แต่เดือนกุมภาพันธ์ 120 ได้อนุญาตแล้ว (30 ม.ค. 120-4 พ.ค. 127).

หอจดหมายเหตุแห่งชาติ. น.8.9 ค/152 จีนเฮง บังคับสยาม ขออนุญาตตั้งโรงจำนำ ตำบลตลาดสามเสน แต่วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 121 สั่งอนุญาตแล้ว (23 ธ.ค. 121-12 ส.ค. 126).

หอจดหมายเหตุแห่งชาติ. น.8.9 ค/346 จีนเหลงเจ้าของโรงจำนำตำบลบ่อนสามเสนลาไปเมืองจีน ฃอให้จีนซุ้ยทำการแทน (10-13 ส.ค. 128).

หอจดหมายเหตุแห่งชาติ. น.8.9 ง/12 จีนหลิมโรงจำนำตำบลสามเสน ให้พลตระเวนจับนายดี พลตระเวนเก็บเฃมกลัดตอทองคำฝังเพชรฃองพระนางเจ้าพระราชเทวีได้มาจำนำ มีคำสั่งให้จ่ายเงินรางวัลให้จีนหลิม 20 บาท (24-29 ก.ค. 121).

หอจดหมายเหตุแห่งชาติ. น.8.9 ง/22 จีนหลิมโรงจำนำตำบลสามเสนจับนายชมกับโคมรถ 1 คู่ส่งศาลๆ ตัดสินจำคุก 1 เดือน (1 พ.ย. 121).

หอจดหมายเหตุแห่งชาติ. น.11.3/22 เรื่องรายงานกองตระเวนรักษาสวนดุสิต (2 พ.ย. 118-15 ก.ย. 119).

หอจดหมายเหตุแห่งชาติ. น.18.1 ข/62 ซื้อที่ดินเชิงสะพานกิมเซงหลี (ถนนสามเสน) (21 เม.ย. – 2 พ.ค. 127).

หอจดหมายเหตุแห่งชาติ. น.18.1 ค/13 เรื่องพระองค์เจ้าไชยันต์ ขอพระบรมราชานุญาตให้โรงบ่อนเบี้ยตำบลสามเสนได้ตั้งอยู่ในที่บ้านสวน (10 ม.ค. ร.ศ. 109).

หอจดหมายเหตุแห่งชาติ. น.18.21/893 จีนฮะ ขอหนังสือสำหรับที่ตำบลคลองวัดส้มเกลี้ยง (23 พ.ค. 124-10 มี.ค. 126).

หอจดหมายเหตุแห่งชาติ. น.42.4/ 50 ส่งประกาศให้อำเภอติดที่ห้องโรงแถวตำบลสามเสน ซึ่งจีนง่วนกิดเช่าอยู่เงินค่าเช่าค้าง แลครบกำหนดประกาศแล้ว หามีผู้ร้องทักท้วงไม่ (28 ส.ค.-27 ก.ย. 121).

หอจดหมายเหตุแห่งชาติ. น.42.10/53 จับจีนเฮง หาว่าตั้งร้านจำหน่ายสุราต่างประเทศ ไม่ได้รับอนุญาตที่ตำบลสามเสน จีนเฮงให้การสุราที่จับนี้เป็นของบริษัทไทหงวนในบังคับอังกฤษ หาได้เป็นของจีนเฮงไม่ จีนเฮงเป็นผู้ดูแลจัดการแทนบริษัทเท่านั้น (15-18 มิ.ย. 126).

หอจดหมายเหตุแห่งชาติ. น.42.11/2 คอเรศปอนเดนซ์เรื่องหมื่นพิรมย์ภักดีจับจีนเตก,โหง เอม ลักเล่นบ่อน โป ไพ่ ตำบลทุ่งสามเสน (2 พ.ค. 109-6 มิ.ย. 111).

หอจดหมายเหตุแห่งชาติ. น.42.11/38 ส่งสำเนาเรื่องราวจีนเลียงสูนนายอากรบ่อนเบี้ย ตำบลสามเสนร้องว่าตามโรงสีสามเสนมีผู้ลักเล่นการพนันผิดด้วยพระราชบัญญัติขอให้ตรวจตรารักษาด้วย (11 ก.พ.-17 มี.ค. 123).

หอจดหมายเหตุแห่งชาติ. น.49.3/12 เรื่องฃอให้อำเภอสำรวจหมอยาเชลยศักดิ์ที่รักษาโรคราษฎร นอกจากหมอหลวงซึ่งมีอยู่ในจังหวัดกรุงเทพฯนั้น ได้ส่งบาญชีรายละเอียดไปยังกระทรวงธรรมการแล้ว (19 ก.ค.-7 ส.ค. 124).

หอจดหมายเหตุแห่งชาติ. มร5-ร6 รล-พล/1 ให้จัดซื้อที่ตำบลสามเสนเปนที่ทิ้งสิ่งของโสโครก ร.ศ. 116.

หอจดหมายเหตุแห่งชาติ. ยธ.9/37 เรื่องสะพานเทเวศร์ และถนนสามเสน และเรื่องปลูกต้นไม้ข้างถนนสามเสน และเรื่องสะพานกิมเซ่งหลี (21-25 ก.พ. 117).

หอจดหมายเหตุแห่งชาติ. ยธ 9/42 เรื่องเบิกจ่ายการทำถนน (27 ก.ย. 118-27 พ.ย. 119).

กรรณิการ์ ตันประเสริฐ. (2553). พระราชวังพญาไท ในวันวารห้าแผ่นดิน. กรุงเทพฯ: มติชน.

จิตรา ก่อนันทเกียรติ. (2552). แพ้แล้วกลับมาชนะได้อย่างไร plus ความรู้จากสิงห์. กรุงเทพฯ: มติชน.

จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, พระบาทสมเด็จพระ. (2527). จดหมายเหตุพระราชกิจรายวัน ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว วันที่ 1 มกราคม จุลศักราช 1265-31 ธันวาคม จุลศักราช 1266 พุทธศักราช 2446-2447. กรุงเทพฯ : กรุงสยามการพิมพ์.

จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, พระบาทสมเด็จพระ.. (2507). ประชุมพระราชหัตถเลขาพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวที่บริหารราชการแผ่นดิน ภาค 1 ระหว่างพุทธศักราช 2424 ถึง พุทธศักราช 2435. พระนคร: คณะกรรมการจัดพิมพ์เอกสารทางประวัติศาสตร์ วัฒนธรรมและโบราณคดี สำนักนายกรัฐมนตรี.

จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, พระบาทสมเด็จพระ.. (2477). จดหมายเหตุพระราชกิจรายวัน พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ภาค 4. พระนคร: โรงพิมพ์ภูไท.

จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, พระบาทสมเด็จพระ.. (2519). จดหมายเหตุพระราชกิจรายวัน ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จ.ศ. 1269 (พ.ศ. 2450). พระนคร: โรงพิมพ์พระจันทร์.

ชัยธวัช ตุลาธน (บรรณาธิการ). (2557). พระพรหมช่วยอำนวยให้ชื่นฉ่ำ เศรษฐกิจการเมืองว่าด้วยทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์หลัง 2475. นนทบุรี: ฟ้าเดียวกัน.

ชาตรี ประกิตนนทการ. (2558). สถาปัตยกรรมไทยหลังรัฐประหาร 19 กันยา 49. กรุงเทพฯ: อ่าน.

ณัฐวุฒิ ปรียวนิตย์. (2560). เศรษฐกิจการเมืองของการตัดถนนในพระนครสมัยรัชกาลที่ 1 -5. กรุงเทพฯ: คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ดำรงราชานุภาพ, สมเด็จฯ กรมพระยา. (2526). คนดีที่ข้าพเจ้ารู้จัก เล่ม 1. กรุงเทพฯ: บัณฑิตการพิมพ์.

ดำรงราชานุภาพ, สมเด็จฯ กรมพระยา. (2553). ตำนานวังเก่า. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แสงดาว.

ดำรงราชานุภาพ, สมเด็จฯ กรมพระยา. (2465). ประชุมพงศาวดาร ภาคที่ 17 เรื่องตำนานการเลิกบ่อนเบี้ย และเลิกหวย. พระนคร: โรงพิมพ์โสภณพิพรรฒธนากร.

ทำเนียบนาม ภาค 1-4 และ ทำเนียบข้าราชการวังหลัง. (2563). กรุงเทพฯ: มูลนิธิสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา.

บัณฑิต จุลาสัย; พีรศรี โพวาทอง; และรัชดา โชติพานิช. (2557). วังสวนดุสิต. กรุงเทพฯ: มติชน.

ปราณี กลิ่นส้ม. (2552). ย่านเก่าในกรุงเทพฯ เล่ม 1. กรุงเทพฯ : สารคดี.

เปลี่ยน ภาสกรวงศ์, ท่านผู้หญิง. (2557). แม่ครัวหัวป่าก์. กรุงเทพฯ: ต้นฉบับ.

ผาสุก พงษ์ไพจิตร; และคริส เบเคอร์. (2546). เศรษฐกิจการเมืองไทยสมัยกรุงเทพฯ. กรุงเทพฯ: Silkworm Books.

ผาสุก พงษ์ไพจิตร; และคริส เบเคอร์. (2559). ประวัติศาสตร์ไทยร่วมสมัย. กรุงเทพฯ: มติชน.

ผุสดี จันทวิมล. (2541). เวียดนามในเมืองไทย. กรุงเทพฯ : มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์.

พรรณี บัวเล็ก. (2541). สยามในกระแสธารแห่งการเปลี่ยนแปลง: ประวัติศาสตร์ไทยตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 5. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ.

พลาดิศัย สิทธิธัญกิจ. (2551). กรุงเทพศึกษา. กรุงเทพฯ : บันทึกสยาม.

พิพัฒน์ ไทยอารี. (2535). การจัดการระบบ “รัฐพาณิชย์ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว: พัฒนาการและผลกระทบต่อสังคมไทย. ใน การประชุม

วิชาการประจำปี 2535 เรื่อง 100 ปีแห่งการปฏิรูปการปกครองในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว : พัฒนาการและผลกระทบต่อสังคมไทย.

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัลย์. (2560). เทศบาล: พื้นที่ เมืองและกาลเวลา. กรุงเทพฯ: สยามปริทัศน์.

มงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว, พระบาทสมเด็จพระ. (2554). นิทานทองอิน. นนทบุรี: วิสคอม.

เมืองบางกอก. (2563). กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม.

โรม บุนนาค. (2553). บันทึกแผ่นดิน ชุด ตำนานทุ่งกลางกรุง. กรุงเทพฯ: สยามบันทึก.

ส. พลายน้อย. (2555). แม่น้ำลำคลอง. กรุงเทพฯ: มติชน.

สกินเนอร์, จี. วิลเลียม. (2548). สังคมจีนในไทย ประวัติศาสตร์เชิงวิเคราะห์. แปลโดย พรรณี ฉัตรพลรักษ์ และคนอื่นๆ. กรุงเทพฯ: มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์.

สายชล สัตยานุรักษ์. (2557). 10 ปัญญาชนสยาม ปัญญาชนแห่งรัฐสมบูรณาญาสิทธิราชย์. กรุงเทพฯ: โอเพ่น โซไซตี้.

สิริลักษณ์ (ศักดิ์เกรียงไกร) สัมปัชชลิต. (2552). ต้นกำเนิดของชนชั้นนายทุนในประเทศไทย (พ.ศ. 2398-2453). กรุงเทพฯ: สร้างสรรค์บุ๊คส์.

สุจิตต์ วงษ์เทศ (บรรณาธิการ). (2545). กวีสยามนำเที่ยวกรุงเทพฯ. กรุงเทพฯ: มติชน.

อธิบายคำในสารานุกรมและบทความบางเรื่องของ อดุล อิ่มโอชา (อุทิศบูชาพระคุณ). (2525). กรุงเทพฯ: การพิมพ์ไชยวัฒน์.

เอนก นาวิกมูล. (2542). ตำนานห้างร้านสยาม. กรุงเทพฯ: บริษัทต้นอ้อ 1999 จำกัด.

Edward Van Roy(เขียน) ยุกติ มุกดาจิตร(แปล). (2565). ก่อร่างสร้างบางกอก. กรุงเทพฯ : มติชน.

จิรวัฒน์ แสงทอง. (2546). ชีวิตประจำวันของชาวสยามในกรุงเทพฯ พ.ศ. 2426-2475. วิทยานิพนธ์ อ.ม. (ประวัติศาสตร์). กรุงเทพฯ: คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

โชคชัย มันตานุรักษ์. (2562). เปลี่ยนกลิ่นกรุงเทพฯ สู่ความศิวิไลซ์: การจัดการปัญหาความสกปรก กลิ่นเหม็นและความไร้ระเบียบ ทศวรรษ 2410-2440. ปริญญานิพนธ์ ศศ.ม. (ประวัติศาสตร์). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

นนทพร อยู่มั่งมี. (2556). กองตระเวนกับการจัดการพื้นที่เมืองของกรุงเทพฯ พ.ศ. 2418-2458. วิทยานิพนธ์ อ.ด. (ประวัติศาสตร์). กรุงเทพฯ: คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

นันทนา โชติเวทธำรง. (2528). โรงรับจำนำกับเศรษฐกิจสังคมไทย พ.ศ.2438-2498. วิทยานิพนธ์ อ.ม. (ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้). นครปฐม: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.

พรทวี สุปัณณานนท์. (2542). การจัดการอสังหาริมทรัพย์ในกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2444-2475. วิทยานิพนธ์ อ.ม. (ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้). นครปฐม: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ยุวดี ตปนียากร. (2522). วิวัฒนาการของการแพทย์ไทย ตั้งแต่สมัยเริ่มต้นจนถึงสิ้นสุดรัชกาลพระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว. วิทยานิพนธ์ อ.ม. (ประวัติศาสตร์). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สยามพร ทองสาริ. (2526). ผลกระทบจากการตัดถนนในกรุงเทพฯ ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุงจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (พ.ศ. 2411-2453): ศึกษาเฉพาะกรณีการตัดถนนในกำแพงพระนครด้านเหนือและด้านใต้พระนคร. วิทยานิพนธ์ อ.ม. (ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้). นครปฐม: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.

Udomporn Teeraviriyakul. (2012). "Bangkok modern" : the transformation of Bangkok with Singapore and Batavia as models (1861-1897). Bangkok :Faculty of Arts. Chulalongkorn University.