การเปลี่ยนแปลงเชิงพื้นที่และเศรษฐกิจในสามเสนหลังการสร้างพระราชวังดุสิต ทศวรรษ 2440-2450

Main Article Content

อิทธิกร ทองแกมแก้ว

บทคัดย่อ

บทความชิ้นนี้มุ่งศึกษาเกี่ยวกับท้องที่สามเสนภายหลังการสร้างพระราชวังดุสิตในช่วงทศวรรษ 2440 ซึ่งทำให้พื้นที่สามเสนก้าวเข้าสู่ความเป็นเมืองสมัยใหม่ ข้อเสนอของบทความคือการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวนี้เกิดขึ้นภายใต้เงื่อนไขสำคัญสองประการ ประการแรกคือการปฏิรูปกรรมสิทธิ์ที่ดินโดยทุนของรัฐ
และอีกประการคือชาวจีนที่อพยพเข้ามา ได้มีส่วนสำคัญต่อการพัฒนาและเติบโตทางเศรษฐกิจของ
ย่านสามเสนแทนที่กลุ่มคนชาวญวนที่เป็นเจ้าของพื้นที่ทางเศรษฐกิจดั้งเดิม เงื่อนไขทั้งสองประการนี้นำมาซึ่งปัญหาอาชญากรรม จนสร้างความยากลำบากในการจัดการดูแลของรัฐในท้องที่สามเสนอยู่บ่อยครั้ง

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

หอจดหมายเหตุแห่งชาติ. น.5.7 ก/29 มีไข้กาฬโรคขึ้นที่บ้านพวกเขมรถือศาสนาโนมันคาลิกตำบลสามเสน หมอคาทิวได้จัดการแลแนะนำให้บาดหลวงฝังศพคนที่เข้ารีดเป็นกาฬโรคตายนั้นแล้ว (5 เม.ย. 125-31 มี.ค. 125).

หอจดหมายเหตุแห่งชาติ. น.7.7/54 สำรวจเงินค่านาศก 123 มณฑลกรุงเทพฯ (30 มิ.ย. 124).

หอจดหมายเหตุแห่งชาติ. น.7.7/55 กำหนดอัตราเก็บเงินอากรค่านาจำนวนศก 124 ในท้องทุ่งอำเภอต่างๆ มณฑลกรุงเทพ (20 ก.ค.-20 ธ.ค. 124).

หอจดหมายเหตุแห่งชาติ. น.5.8/8 แก้ไขถนนสามเสน (เม.ย. 118-6 พ.ย. 119).

หอจดหมายเหตุแห่งชาติ. น.5.12/8 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้กระทรวงนครบาลออกประกาศจัดการสะอาดในจังหวัดพระนคร ศก 117 ตามซึ่งพระยาเทเวศร์กราบบังคับทูลด้วยเรื่องถนนสามเสน (2 มิ.ย. 118).

หอจดหมายเหตุแห่งชาติ. น.5.12/11 จัดการระงับสิ่งโสโครกต่างๆ ในบริเวณวังสวนดุสิต (25-29 ก.ค. 118).

หอจดหมายเหตุแห่งชาติ. น.5.12/13 ขอให้พลตระเวนว่ากล่าวจับกุมผู้ทิ้งของโสโครกที่ถนนสามเสนตอนบน (22 พ.ย. 118).

หอจดหมายเหตุแห่งชาติ. น.8.1/224 นายอุย, กับพวกพากันตัดต้นไม้ของหลวงที่สวนดุสิตแลปาเรือนผู้รักษาสวน ฃอให้รงับเหตุทำโทษเสียให้เข็ดหลาบบ้างจะสดวกแก่ผู้รักษาสวนต่อไปด้วย (29 ก.ค.-6 ส.ค. 127).

หอจดหมายเหตุแห่งชาติ. น.8.1/233 ตรวจสุราเถื่อนที่บ้านญวน (11-13 ต.ค 121).

หอจดหมายเหตุแห่งชาติ. น.8.1/455 พวกญวนสามเสน.

หอจดหมายเหตุแห่งชาติ. น.8.9 ค/23 จีนหลิม บังคับสยามขอตั้งโรงรับจำนำที่ตำบลริมบ่อนสามเสน แต่เดือนกุมภาพันธ์ 120 ได้อนุญาตแล้ว (30 ม.ค. 120-4 พ.ค. 127).

หอจดหมายเหตุแห่งชาติ. น.8.9 ค/152 จีนเฮง บังคับสยาม ขออนุญาตตั้งโรงจำนำ ตำบลตลาดสามเสน แต่วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 121 สั่งอนุญาตแล้ว (23 ธ.ค. 121-12 ส.ค. 126).

หอจดหมายเหตุแห่งชาติ. น.8.9 ค/346 จีนเหลงเจ้าของโรงจำนำตำบลบ่อนสามเสนลาไปเมืองจีน ฃอให้จีนซุ้ยทำการแทน (10-13 ส.ค. 128).

หอจดหมายเหตุแห่งชาติ. น.8.9 ง/12 จีนหลิมโรงจำนำตำบลสามเสน ให้พลตระเวนจับนายดี พลตระเวนเก็บเฃมกลัดตอทองคำฝังเพชรฃองพระนางเจ้าพระราชเทวีได้มาจำนำ มีคำสั่งให้จ่ายเงินรางวัลให้จีนหลิม 20 บาท (24-29 ก.ค. 121).

หอจดหมายเหตุแห่งชาติ. น.8.9 ง/22 จีนหลิมโรงจำนำตำบลสามเสนจับนายชมกับโคมรถ 1 คู่ส่งศาลๆ ตัดสินจำคุก 1 เดือน (1 พ.ย. 121).

หอจดหมายเหตุแห่งชาติ. น.11.3/22 เรื่องรายงานกองตระเวนรักษาสวนดุสิต (2 พ.ย. 118-15 ก.ย. 119).

หอจดหมายเหตุแห่งชาติ. น.18.1 ข/62 ซื้อที่ดินเชิงสะพานกิมเซงหลี (ถนนสามเสน) (21 เม.ย. – 2 พ.ค. 127).

หอจดหมายเหตุแห่งชาติ. น.18.1 ค/13 เรื่องพระองค์เจ้าไชยันต์ ขอพระบรมราชานุญาตให้โรงบ่อนเบี้ยตำบลสามเสนได้ตั้งอยู่ในที่บ้านสวน (10 ม.ค. ร.ศ. 109).

หอจดหมายเหตุแห่งชาติ. น.18.21/893 จีนฮะ ขอหนังสือสำหรับที่ตำบลคลองวัดส้มเกลี้ยง (23 พ.ค. 124-10 มี.ค. 126).

หอจดหมายเหตุแห่งชาติ. น.42.4/ 50 ส่งประกาศให้อำเภอติดที่ห้องโรงแถวตำบลสามเสน ซึ่งจีนง่วนกิดเช่าอยู่เงินค่าเช่าค้าง แลครบกำหนดประกาศแล้ว หามีผู้ร้องทักท้วงไม่ (28 ส.ค.-27 ก.ย. 121).

หอจดหมายเหตุแห่งชาติ. น.42.10/53 จับจีนเฮง หาว่าตั้งร้านจำหน่ายสุราต่างประเทศ ไม่ได้รับอนุญาตที่ตำบลสามเสน จีนเฮงให้การสุราที่จับนี้เป็นของบริษัทไทหงวนในบังคับอังกฤษ หาได้เป็นของจีนเฮงไม่ จีนเฮงเป็นผู้ดูแลจัดการแทนบริษัทเท่านั้น (15-18 มิ.ย. 126).

หอจดหมายเหตุแห่งชาติ. น.42.11/2 คอเรศปอนเดนซ์เรื่องหมื่นพิรมย์ภักดีจับจีนเตก,โหง เอม ลักเล่นบ่อน โป ไพ่ ตำบลทุ่งสามเสน (2 พ.ค. 109-6 มิ.ย. 111).

หอจดหมายเหตุแห่งชาติ. น.42.11/38 ส่งสำเนาเรื่องราวจีนเลียงสูนนายอากรบ่อนเบี้ย ตำบลสามเสนร้องว่าตามโรงสีสามเสนมีผู้ลักเล่นการพนันผิดด้วยพระราชบัญญัติขอให้ตรวจตรารักษาด้วย (11 ก.พ.-17 มี.ค. 123).

หอจดหมายเหตุแห่งชาติ. น.49.3/12 เรื่องฃอให้อำเภอสำรวจหมอยาเชลยศักดิ์ที่รักษาโรคราษฎร นอกจากหมอหลวงซึ่งมีอยู่ในจังหวัดกรุงเทพฯนั้น ได้ส่งบาญชีรายละเอียดไปยังกระทรวงธรรมการแล้ว (19 ก.ค.-7 ส.ค. 124).

หอจดหมายเหตุแห่งชาติ. มร5-ร6 รล-พล/1 ให้จัดซื้อที่ตำบลสามเสนเปนที่ทิ้งสิ่งของโสโครก ร.ศ. 116.

หอจดหมายเหตุแห่งชาติ. ยธ.9/37 เรื่องสะพานเทเวศร์ และถนนสามเสน และเรื่องปลูกต้นไม้ข้างถนนสามเสน และเรื่องสะพานกิมเซ่งหลี (21-25 ก.พ. 117).

หอจดหมายเหตุแห่งชาติ. ยธ 9/42 เรื่องเบิกจ่ายการทำถนน (27 ก.ย. 118-27 พ.ย. 119).

กรรณิการ์ ตันประเสริฐ. (2553). พระราชวังพญาไท ในวันวารห้าแผ่นดิน. กรุงเทพฯ: มติชน.

จิตรา ก่อนันทเกียรติ. (2552). แพ้แล้วกลับมาชนะได้อย่างไร plus ความรู้จากสิงห์. กรุงเทพฯ: มติชน.

จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, พระบาทสมเด็จพระ. (2527). จดหมายเหตุพระราชกิจรายวัน ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว วันที่ 1 มกราคม จุลศักราช 1265-31 ธันวาคม จุลศักราช 1266 พุทธศักราช 2446-2447. กรุงเทพฯ : กรุงสยามการพิมพ์.

จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, พระบาทสมเด็จพระ.. (2507). ประชุมพระราชหัตถเลขาพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวที่บริหารราชการแผ่นดิน ภาค 1 ระหว่างพุทธศักราช 2424 ถึง พุทธศักราช 2435. พระนคร: คณะกรรมการจัดพิมพ์เอกสารทางประวัติศาสตร์ วัฒนธรรมและโบราณคดี สำนักนายกรัฐมนตรี.

จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, พระบาทสมเด็จพระ.. (2477). จดหมายเหตุพระราชกิจรายวัน พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ภาค 4. พระนคร: โรงพิมพ์ภูไท.

จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, พระบาทสมเด็จพระ.. (2519). จดหมายเหตุพระราชกิจรายวัน ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จ.ศ. 1269 (พ.ศ. 2450). พระนคร: โรงพิมพ์พระจันทร์.

ชัยธวัช ตุลาธน (บรรณาธิการ). (2557). พระพรหมช่วยอำนวยให้ชื่นฉ่ำ เศรษฐกิจการเมืองว่าด้วยทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์หลัง 2475. นนทบุรี: ฟ้าเดียวกัน.

ชาตรี ประกิตนนทการ. (2558). สถาปัตยกรรมไทยหลังรัฐประหาร 19 กันยา 49. กรุงเทพฯ: อ่าน.

ณัฐวุฒิ ปรียวนิตย์. (2560). เศรษฐกิจการเมืองของการตัดถนนในพระนครสมัยรัชกาลที่ 1 -5. กรุงเทพฯ: คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ดำรงราชานุภาพ, สมเด็จฯ กรมพระยา. (2526). คนดีที่ข้าพเจ้ารู้จัก เล่ม 1. กรุงเทพฯ: บัณฑิตการพิมพ์.

ดำรงราชานุภาพ, สมเด็จฯ กรมพระยา. (2553). ตำนานวังเก่า. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แสงดาว.

ดำรงราชานุภาพ, สมเด็จฯ กรมพระยา. (2465). ประชุมพงศาวดาร ภาคที่ 17 เรื่องตำนานการเลิกบ่อนเบี้ย และเลิกหวย. พระนคร: โรงพิมพ์โสภณพิพรรฒธนากร.

ทำเนียบนาม ภาค 1-4 และ ทำเนียบข้าราชการวังหลัง. (2563). กรุงเทพฯ: มูลนิธิสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา.

บัณฑิต จุลาสัย; พีรศรี โพวาทอง; และรัชดา โชติพานิช. (2557). วังสวนดุสิต. กรุงเทพฯ: มติชน.

ปราณี กลิ่นส้ม. (2552). ย่านเก่าในกรุงเทพฯ เล่ม 1. กรุงเทพฯ : สารคดี.

เปลี่ยน ภาสกรวงศ์, ท่านผู้หญิง. (2557). แม่ครัวหัวป่าก์. กรุงเทพฯ: ต้นฉบับ.

ผาสุก พงษ์ไพจิตร; และคริส เบเคอร์. (2546). เศรษฐกิจการเมืองไทยสมัยกรุงเทพฯ. กรุงเทพฯ: Silkworm Books.

ผาสุก พงษ์ไพจิตร; และคริส เบเคอร์. (2559). ประวัติศาสตร์ไทยร่วมสมัย. กรุงเทพฯ: มติชน.

ผุสดี จันทวิมล. (2541). เวียดนามในเมืองไทย. กรุงเทพฯ : มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์.

พรรณี บัวเล็ก. (2541). สยามในกระแสธารแห่งการเปลี่ยนแปลง: ประวัติศาสตร์ไทยตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 5. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ.

พลาดิศัย สิทธิธัญกิจ. (2551). กรุงเทพศึกษา. กรุงเทพฯ : บันทึกสยาม.

พิพัฒน์ ไทยอารี. (2535). การจัดการระบบ “รัฐพาณิชย์ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว: พัฒนาการและผลกระทบต่อสังคมไทย. ใน การประชุม

วิชาการประจำปี 2535 เรื่อง 100 ปีแห่งการปฏิรูปการปกครองในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว : พัฒนาการและผลกระทบต่อสังคมไทย.

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัลย์. (2560). เทศบาล: พื้นที่ เมืองและกาลเวลา. กรุงเทพฯ: สยามปริทัศน์.

มงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว, พระบาทสมเด็จพระ. (2554). นิทานทองอิน. นนทบุรี: วิสคอม.

เมืองบางกอก. (2563). กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม.

โรม บุนนาค. (2553). บันทึกแผ่นดิน ชุด ตำนานทุ่งกลางกรุง. กรุงเทพฯ: สยามบันทึก.

ส. พลายน้อย. (2555). แม่น้ำลำคลอง. กรุงเทพฯ: มติชน.

สกินเนอร์, จี. วิลเลียม. (2548). สังคมจีนในไทย ประวัติศาสตร์เชิงวิเคราะห์. แปลโดย พรรณี ฉัตรพลรักษ์ และคนอื่นๆ. กรุงเทพฯ: มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์.

สายชล สัตยานุรักษ์. (2557). 10 ปัญญาชนสยาม ปัญญาชนแห่งรัฐสมบูรณาญาสิทธิราชย์. กรุงเทพฯ: โอเพ่น โซไซตี้.

สิริลักษณ์ (ศักดิ์เกรียงไกร) สัมปัชชลิต. (2552). ต้นกำเนิดของชนชั้นนายทุนในประเทศไทย (พ.ศ. 2398-2453). กรุงเทพฯ: สร้างสรรค์บุ๊คส์.

สุจิตต์ วงษ์เทศ (บรรณาธิการ). (2545). กวีสยามนำเที่ยวกรุงเทพฯ. กรุงเทพฯ: มติชน.

อธิบายคำในสารานุกรมและบทความบางเรื่องของ อดุล อิ่มโอชา (อุทิศบูชาพระคุณ). (2525). กรุงเทพฯ: การพิมพ์ไชยวัฒน์.

เอนก นาวิกมูล. (2542). ตำนานห้างร้านสยาม. กรุงเทพฯ: บริษัทต้นอ้อ 1999 จำกัด.

Edward Van Roy(เขียน) ยุกติ มุกดาจิตร(แปล). (2565). ก่อร่างสร้างบางกอก. กรุงเทพฯ : มติชน.

จิรวัฒน์ แสงทอง. (2546). ชีวิตประจำวันของชาวสยามในกรุงเทพฯ พ.ศ. 2426-2475. วิทยานิพนธ์ อ.ม. (ประวัติศาสตร์). กรุงเทพฯ: คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

โชคชัย มันตานุรักษ์. (2562). เปลี่ยนกลิ่นกรุงเทพฯ สู่ความศิวิไลซ์: การจัดการปัญหาความสกปรก กลิ่นเหม็นและความไร้ระเบียบ ทศวรรษ 2410-2440. ปริญญานิพนธ์ ศศ.ม. (ประวัติศาสตร์). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

นนทพร อยู่มั่งมี. (2556). กองตระเวนกับการจัดการพื้นที่เมืองของกรุงเทพฯ พ.ศ. 2418-2458. วิทยานิพนธ์ อ.ด. (ประวัติศาสตร์). กรุงเทพฯ: คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

นันทนา โชติเวทธำรง. (2528). โรงรับจำนำกับเศรษฐกิจสังคมไทย พ.ศ.2438-2498. วิทยานิพนธ์ อ.ม. (ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้). นครปฐม: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.

พรทวี สุปัณณานนท์. (2542). การจัดการอสังหาริมทรัพย์ในกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2444-2475. วิทยานิพนธ์ อ.ม. (ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้). นครปฐม: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ยุวดี ตปนียากร. (2522). วิวัฒนาการของการแพทย์ไทย ตั้งแต่สมัยเริ่มต้นจนถึงสิ้นสุดรัชกาลพระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว. วิทยานิพนธ์ อ.ม. (ประวัติศาสตร์). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สยามพร ทองสาริ. (2526). ผลกระทบจากการตัดถนนในกรุงเทพฯ ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุงจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (พ.ศ. 2411-2453): ศึกษาเฉพาะกรณีการตัดถนนในกำแพงพระนครด้านเหนือและด้านใต้พระนคร. วิทยานิพนธ์ อ.ม. (ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้). นครปฐม: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.

Udomporn Teeraviriyakul. (2012). "Bangkok modern" : the transformation of Bangkok with Singapore and Batavia as models (1861-1897). Bangkok :Faculty of Arts. Chulalongkorn University.