สุนทราภรณ์ใต้ปีกพญาอินทรี : อัสดงคตอเมริกานุวัตรกับวงดนตรีสุนทราภรณ์ในยุคสงครามเย็น
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความนี้ต้องการศึกษาสภาวะอัน “คลุมเครือ” ในการจัดวางตำแหน่งแห่งที่ของการรับอิทธิพลวัฒนธรรมอเมริกันช่วงยุคสงครามเย็นของวงดนตรีสุนทราภรณ์ เพื่อทำความเข้าใจความสัมพันธ์ทางวัฒนธรรมและความรู้ทางดนตรีแบบสมัยใหม่ของวงดนตรีสุนทราภรณ์เมื่อเผชิญหน้ากับกระแส “อเมริกานุวัตร” (Americanization) อันเป็นกระบวนการของการปะทะสังสรรค์ ปรับเปลี่ยนอัตลักษณ์ และรับมือกับความเป็นตะวันตกอย่างสลับซับซ้อน ผ่านกรอบแนวคิดแบบ “อัสดงคตนิยม” (Occidentalism)[1] ซึ่งช่วยเปิดมุมมองและทบทวนปฏิสัมพันธ์ระหว่าง “ความเป็นไทย” และ “ความเป็นตะวันตก” อันมีผลต่อการจัดจำแนกแยกแยะ การแบ่งรับแบ่งสู้ การผสมผสานเลียนแบบหรือตอบโต้ ซึ่งกันและกันที่ส่งผลในการสร้างสภาวะความเป็นสมัยใหม่แบบ “ไทยสากล” ของวงดนตรีสุนทราภรณ์ในยุคสงครามเย็น
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
References
“เที่ยวงานราตรีวินเธ่อร์บอลล์”. (3 ตุลาคม 2503). ดาราไทย 6 (184). หน้า 27 อ้างใน วิลลา วิลัยทอง. (2560, มกราคม-เมษายน). “แต่งตัวให้ผู้หญิงชนชั้นกลางไทย : “นักดีไซน์แบบ” และวัฒนธรรมความงามในสมัย “พัฒนา”. รัฐศาสตร์สาร. 38 (1).
เก่งกิจ กิตติเลียงลาภ. (2562). เขียนชนบทให้เป็นชาติ กำเนิดมานุษยวิทยาไทยในยุคสงครามเย็น. กรุงเทพฯ : มติชน.
กุลลดา เกษบุญชู มี้ด. (2550). การเมืองไทยยุคสฤษดิ์-ถนอม ภายใต้โครงสร้างอำนาจโลก. กรุงเทพฯ : กองทุนปรีดี พนมยงค์ มูลนิธิ 50 ปีธนาคารแห่งประเทศไทย.
ณัฐพล ใจจริง. (2556). ขอฝันใฝ่ในฝันอันเหลือเชื่อ : ความเคลื่อนไหวของขบวนการปฏิปักษ์ปฏิวัติสยาม (พ.ศ. 2475 - 2500). นนทบุรี : ฟ้าเดียวกัน.
ณัฐพล ใจจริง. (2563). ขุนศึก ศักดินา และ พญาอินทรี : การเมืองไทยภายใต้ระเบียบโลกของสหรัฐอเมริกา 2491 – 2500. นนทบุรี : ฟ้าเดียวกัน.
ทักษ์ เฉลิมเตียรณ. (2562). การเมืองระบบพ่อขุนอุปถัมภ์เผด็จการ, แปลโดย พรรณี ฉัตรพลรักษ์ และคณะ. กรุงเทพฯ : มูลนิธิ โครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษย์ศาสตร์.
ธงชัย วินนิจจะกูล. (2562). “ปรับตัวปรับใจเพื่ออยู่กับโลกตะวันตก : ยุทธศาสตร์ทางภูมิปัญญาที่แบ่งโลกเป็นสองส่วน และแนวคิด หลังตะวันตกในสยาม” ใน เมื่อสยามพลิกผัน. นนทบุรี : ฟ้าเดียวกัน.
ธงชัย วินนิจจะกูล. (2559). “สภาวะอาณานิคมของสยามและกำเนิดประวัติศาสตร์ชาติไทย” ใน โฉมหน้าราชาชาตินิยม. นนทบุรีฯ : ฟ้าเดียวกัน.
ปรีดี หงษ์สต้น. (2562). สยามมหกรรม การเมืองวัฒนธรรมกับการช่วงชิงความเป็นสาธารณะ. กรุงเทพฯ : มติชน.
ปุ๊ กรุงเกษม. (2559). ย้อนตำนานโก๋หลังวัง เดินอย่างปุ๊. กรุงเทพฯ : ประพันธ์สาสน์.
มณี สิริวรสาร. (2544). ชีวิตเหมือนฝัน. กรุงเทพฯ : แพรวสำนักพิมพ์
วิลลา วิลัยทอง. (2560). “โรงเรียนเสริมสวย การตลาดความงาม และ “ผมสวย แบบนำสมัย” ในสังคมไทยยุค“พัฒนา”, ใน ธเนศ อาภรณ์ สุวรรณ (บก.), ความ(ไม่)เป็นสมัยใหม่: ความเปลี่ยนแปลงและความย้อนแย้งของ ไทย. กรุงเทพฯ : สยามปริทัศน์.
วีระยุทธ ปีสาลี. (2557). กรุงเทพฯ ยามราตรี. กรุงเทพฯ : มติชน
สันติเทพ ศิลปบรรเลง. (2535, กันยายน-ธันวาคม). “พรานบูรพ์ ศิลปินของประชาชน”. วารสารวิทยบริการ. 3 (3).
สายชล สัตยานุรักษ์. (2557). 10 ปัญญาชนสยาม เล่ม 2 ปัญญาชนหลังการปฏิวัติ 2475. กรุงเทพฯ : โอเพ่น โซไซตี้.
สิทธิพล เครือรัฐติกาล. (2551). สถาบันพระมหากษัตริย์กับนโยบายต่างประเทศของไทยในยุคสงครามเย็น. ฟ้าเดียวกัน. 6 (4).
สุนทราภรณ์. วงดนตรี. (2532). สุนทราภรณ์วิชาการ : บทความจากการสัมมนาสุนทราภรณ์วิชาการ ในวาระครบรอบ 50 ปี วงดนตรีสุนทราภรณ์ 12-17 มิถุนายน 2532. กรุงเทพฯ : อัมรินทร์พริ้นติ้งกรุ๊ฟ จำกัด
อาทิตย์ เจียมรัตตัญญู. (2560, พฤษภาคม-สิงหาคม). จาก “โซ๊ด” สู่ “สะวิง” : อัสดงคตนิยมกับการเมืองของการแปล ทางวัฒนธรรมในประวัติศาสตร์ไทยสมัยใหม่. รัฐศาสตร์สาร. 38 (2).
อุทิศ นาคสวัสดิ์. (2512). ดนตรีไทย โดยศาสตราจารย์ ดร.อุทิศ นาคสวัสดิ์ อนุสรณ์งานฌาปนกิจคุณแม่ทองดี วัลลิสุต ณ เมรุ วัดธาตุทอง 9 ธันวาคม.
แอนเดอร์สัน, เบเนดิกท์. (2553). “บทนำ” ในกระจก : วรรณกรรมและการเมืองสยามยุคอเมริกัน. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์อ่าน
แอนเดอร์สัน, เบเนดิกท์. (2559). บ้านเมืองของเราลงแดง : แง่มุมทางสังคมและวัฒนธรรมของรัฐประหาร 6 ตุลาคม. กรุงเทพฯ : มติชน.
Feangfu Janit. (2011). (Ir)resistibly Modern: The Construction of Modern Thai identities in Thai Literature during the Cold war Era, 1958-1976. School of Oriental and African Studies, University of London.
กมลธรรม เกื้อบุตร. (2557). ดนตรีเต้นรำในสังคม และวัฒนธรรมไทย. วิทยานิพนธ์ ปร.ด. (ดนตรี). นครปฐม : มหาวิทยาลัยหิดล.
เกรียงศักดิ์ เชษฐพัฒนวนิช. (2536). แนวคิดประชาธิปไตยแบบไทย. วิทยานิพนธ์ ร.ม. (รัฐศาสตร์). กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ณัฏฐพงษ์ สกุลเลี่ยว. (2552). ความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคมการเมืองไทยหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ถึงการรัฐประหาร พ.ศ.2500. วิทยานิพนธ์ ศ.ม. (ประวัติศาสตร์). เชียงใหม่ : มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
วัชนี คำน้ำปาด. (2547). เด็กกับความคาดหวังของรัฐบาล พ.ศ.2500-2519. วิทยานิพนธ์ อ.ม. (ประวัติศาสตร์). กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
วัชราภรณ์ อาจหาญ. (2535). การวิเคราะห์เพลงไทยสากลของสุนทราภรณ์. วิทยานิพนธ์ อ.ม. (ภาษาไทย). กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
วิทยา ภู่บัว. (2542). อิทธิพลของดนตรีอเมริกันที่มีต่อเพลงไทยสมัยนิยม. วิทยานิพนธ์ ศศ.ม. (ดนตรี). นครปฐม : มหาวิทยาลัยมหิดล
เว็บไซด์ YouTube. 80 ปี เพลงสุนทราภรณ์ : ความจริงไม่ตาย. (18 ธ.ค. 62). สืบค้นเมื่อ 4 กรกฎาคม 2564.จาก https://www.youtube.com/watch?v=G-PeiUZq8Oc.
แก้ว อัจฉริยะกุล และ เอื้อ สุนทรสนาน. คลั่งแซมบ้า. ไม่ปรากฏวันเผยแพร่. สืบค้นเมื่อ 6 กรกฎาคม 2564. จาก http://www.websuntaraporn.com/suntaraporn/lyric/postlyric.asp?GID=1023.
ศรีสวัสดิ์ พิจิตรวรการ และ เอื้อ สุนทรสนาน. สวรรค์สะวิง. ไม่ปรากฏวันเผยแพร่. สืบค้นเมื่อ 21 เมษายน 2565. จาก http://websuntaraporn.com/suntaraporn/newsun/index.asp?newdesk=newsong&GID=385.
Barendregt, Bart.,Keepty, Peter., & Nordholt Schulte Henk. (2017). Popular Music in Southeast Asia : Banal Beats, Muted Histories. Amsterdam University Press.
Davenport, Lisa E. (2009). Jazz Diplomacy : Promoting America in the Cold War Era. University Press of Missisippi.
Darnton, Robert. (1999). “Workers Revolt: The Great Cat Massacre of the rue Saint- Séverin” in The Great Cat Massacre and Other Episodes in French Cultural History. Basic Books.
Foster, Anne L. (2010). Projections of Power : The United States and Europe in Colonial Southeast Asia, 1919 – 1941. Duke N.C. . Duke University Press.
Go, Julian. (2011). Patterns of Empire : The British and American Empires, 1688 to the Present. Cambridge University Press.
Harrison, Rachel V. (2010). “Introduction The Allure of Ambiguity : The “West” and the Making of Thai Identities”, Rachel V. Harrison and Peter A. Jackson, ed.. The Ambiguous Allure of the West Traces of the Colonial in Thailand. Hong Kong: Hong Kong University Press.
Harrison, Rachel V. (2010). “The Man with the Golden Gauntlets: Mit Chaibancha’s Insi Thorng and the Hybridization of red and yellow perils in Thai Cold War action cinema”, Tony Day and Maya H.T. Liem, ed. Cultures at War: The Cold War and Cultural Expression in Southeast Asia. Cornell University.
Herzfeld, Michael. (2010). “The Conceptual Allure of the West :Dilemmas and Ambiguities of Crypto - Colonialism in Thailand”, Rachel V. Harrison and Peter A. Jackson, ed.. The Ambiguous Allure of the West Traces of the Colonial in Thailand. Hong Kong: Hong Kong University Press.
Phillips, Matthew. (2016). Thailand in the cold war. New York : Routledge.
Lewis, Lin Su. (2016). Cities in Motion: Urban life and Cosmopolitanism in Southeast Asia, 1920-1940. Camebridge University Press.
Roche, Linda De. (2015). The Jazz Age: A Historical Exploration of Literature. Greenwood.
Meeder, Christopher. (2008). Jazz : The Basics. New York : Routledge.
Bhabha, Homi K. (1994). The Location of Culture. New York : Routledge.
Klein, Christina. (2003). Cold War Orientalism : Asia in the Middlebrow Imagination, 1945 – 1961. University of California Press.