ราชบัณฑิตยสถาน สำนักวิทยาศาสตร์กับการสร้างรัฐด้วยวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีของรัฐบาลคณะราษฎร

Main Article Content

ดารุณี สมศรี

บทคัดย่อ

บทความนี้นำเสนอบริบทการสร้างรัฐภายใต้ระบอบการปกครองใหม่ของรัฐบาลคณะราษฎรหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ.2475 ที่รัฐบาลให้ความสำคัญต่อการใช้ความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเป็นเครื่องมือในการสร้างการเมือง เศรษฐกิจและสังคมแบบใหม่ ราชบัณฑิตยสถาน สำนักวิทยาศาสตร์ เป็นหนึ่งในองค์กรที่จัดตั้งขึ้นเพื่อสนับสนุนบุคคลผู้มีความรู้ความเชี่ยวชาญทางวิทยาศาสตร์แขนงต่างๆ ได้ทำหน้าที่ค้นคว้าความรู้ใหม่และเผยแพร่สู่สังคม อย่างไรก็ตาม การศึกษาแสดงให้เห็นว่าผลงานของราชบัณฑิต สำนักวิทยาศาสตร์มุ่งเน้นไปที่การผลิตความรู้ทางวิทยาศาสตร์ที่ตอบสนองต่อนโยบายรัฐด้านการสร้างความอยู่ดีกินดีและความมั่นคงทางเศรษฐกิจ

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

ปี ราชบัณฑิตยสถาน. (2527). กรุงเทพฯ: กรุงเทพฯการพิมพ์.

กฤชกร กอกเผือก. (2566). ค้นเอาทรัพย์ในดิน: ธรณีวิทยา รัฐประชาชาติ และสภาวะประวัติศาสตร์ของโลกธรรมชาติ, 2470-2520. พิษณุโลก: มูลนิธิเพื่อการวิจัยสังคมเอเชีย.

กสิกรนิคม. (2480, พฤศจิกายน). วิทยาศาสตร์. 2(2). หน้า 279-280.

กำจร พลางกูร. (2487, มิถุนายน). แพทยศาสตร์ด้านการศึกษาและการปฏิบัติ. ราชบันดิตสาร สำนักวิทยาสาสตร. 1(1): 16-28.

เฉลิมเกียรติ ผิวนวล. (2529). ความคิดทางการเมืองของปรีดี พนมยงค์. กรุงเทพฯ : มูลนิธิโกมลคีมทอง.

ชาติชาย มุกสง. (2556). รัฐ โภชนาการใหม่กับการเปลี่ยนแปลงวิถีการกินในสังคมไทย พ.ศ. 2482-2517. วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรดุษฎีบัณฑิต (ประวัติศาสตร์).

กรุงเทพฯ: คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ตั้ว ลพานุกรม. (2482). นิมิตรของการก้าวหน้า. ใน ชุมนุมบทบรรณาธิการหนังสือพิมพ์วิทยาศาสตร์ (พ.ศ.2479-2481). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์อักษรนิติ.

ตั้ว ลพานุกรม. (2482). วิทยาศาสตร์กับความต้องการของประเทศ. ใน ชุมนุมบทบรรณาธิการหนังสือพิมพ์วิทยาศาสตร์ (พ.ศ.2479-2481). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์อักษรนิติ.

เติม บุนนาค. (2487, มิถุนายน). คำแนะนำเกี่ยวกับการสมรสในต่างประเทศ. ราชบันดิตสาร สำนักวิทยาสาสตร. 1(1): 29-38.

ทวีศักดิ์ เผือกสม. (2550). เชื้อโรค ร่างกายและรัฐเวชกรรม: ประวัติศาสตร์การแพทย์สมัยใหม่ในสังคมไทย. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ทัณฑิมา เดชโชติ. (2549). ความช่วยเหลือทางวิชาการของสหรัฐอเมริกาต่อประเทศไทย พ.ศ. 2493-2516. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ประวัติศาสตร์). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

ทิวาพร ใจก้อน. (2558). รัฐสยามกับการจัดการธรรมชาติ: ประวัติศาสตร์ แนวคิด และความเรื่องศัตรูพืชในสังคมไทย พ.ศ.2435-2487. กรุงเทพฯ: พี.เพรส.

ที่ระลึกในงานรัฐพิธีพระราชทานพลิงศพ พณฯ ดร.ตั้ว ลพานุกรม. (2484). กรุงเทพฯ: การพิมพ์ไทย.

ธงชัย บุญสิงห์. (2480, พฤศจิกายน). วิทยาศาสตร์. 2 (2). หน้า 203-208.

ธันวา วงษ์เสงี่ยม. (2553). รัฐไทยกับสุขภาพพลเมือง พ.ศ.2475-2500. วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรมหาบัณฑิต (ประวัติศาสตร์). กรุงเทพฯ: คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

นครินทร์ เมฆไตรรัตน์. (2546). ความคิด ความรู้ และอำนาจการเมืองในการปฏิวัติสยาม 2475. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: ฟ้าเดียวกัน.

นครินทร์ เมฆไตรรัตน์. (2553). การปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: ฟ้าเดียวกัน.

นริศ จรัสจรรยาวงศ์. ( 2565, 19 ตุลาคม). น้ำเต้าหู้ มรดกอาหารสมัยคณะราษฎร. The 101. World. สืบค้นเมื่อ 6 มกราคม 2566, จาก https://www.the101.world/soy-bean-history/.

บทบรรณาธิการ. (2479). หนังสือพิมพ์วิทยาศาสตร์. 1 (1). หน้า 8.

บัทสัน, เบนจามิน เอ. (2555). อวสานสมบูรณาญาสิทธิราชย์ในสยาม. แปลโดย พรรณงาม เง่าธรรมสาร และคณะ. กรุงเทพฯ: มูลนิธิโครงการตำราฯ.

บานเย็น สายัณห์วิกสิต. (2560). ปาฐกถาเรื่องความเจริญแห่งวิทยาศาสตร์. ใน รวมปาฐกถาที่แสดงที่สามัคยาจารย์สมาคม ตั้งแต่ พ.ศ.2470-2474. พิมพ์ครั้งที่ 2. หน้า 545, 547. กรุงเทพฯ: สถาบันพระปกเกล้า, 2560.

ประวัติศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุขไทย. (2562). กรุงเทพฯ: แพทยสภา.

พงศ์อินทร์ ศุขขจร. (2528, ตุลาคม-ธันวาคม). สามัคยาจารย์สมาคม. สารานุกรมศึกษาศาสตร์. 2: 168-171.

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์. (2552). การผลิตความหมาย 'พื้นที่ประเทศไทย' ในยุคพัฒนา (พ.ศ.2500-2509). วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ประวัติศาสตร์). เชียงใหม่: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

ภูริ ฟูวงศ์เจริญ. (2563). การเมืองการปกครองไทย: พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ (พ.ศ.2475-2540). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

วิเชียร เพ่งพิศ. (2559). แนวความคิดทางกฎหมายรัฐธรรมนูญของปรีดี พนมยงค์. วิทยานิพนธ์นิติศาสตรมหาบัณฑิต (กฏหมายมหาชน). กรุงเทพฯ: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

วิเทศ บุญคุปต์. (2487, มิถุนายน). ท่าเรือกรุงเทพฯ. ราชบันดิตสาร สำนักวิทยาสาสตร. 1(1): 168-214.

ศิริราชร้อยปี: ประวัติและวิวัฒนาการ. (2531). กรุงเทพฯ: คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล.

สิกขา สองคำชุม. (2566). วารสาร วิทยาศาสตร์ กับการทำให้ “วิทยาศาสตร์บริสุทธิ์” เป็นวิชาชีพในประเทศไทยยุคสงครามเย็น. พิษณุโลก: มูลนิธิเพื่อการวิจัยสังคมเอเชีย.

สุด แสงวิเชียร. (2487, มิถุนายน). ประวัติของศัพท์ในวิชากายวิภาควิทยา. ราชบันดิตสาร สำนักวิทยาสาสตร. 1(1): 67-98.

หลวงบุญมานพพาณิชย์. (2479, ธันวาคม). วิทยาศาสตร์ในระบอบรัฐธรรม. วิทยาศาสตร์. 1(2). หน้า 97-98.

หลวงยุกตเสวีวิวัฒน: วิศวกร. (อนุสรณ์พระราชทานเพลิงศพ หลวงยุกตเสวีวิวัฒน์ (สิระ ยุกตะเสวี) ณ เมรุหน้าพลับพลาอิศริยาภรณ์ วัดเทพศิรินทราวาส กรุงเทพมหานคร 12 มีนาคม 2537.

หลวงสนิทรักษ์สัตว์. (2560). ปาฐากถาเรื่องปัญหาเรื่องสัตว์ในบ้านเรา. ใน รวมปาฐกถาที่แสดงที่สามัคยาจารย์สมาคม ตั้งแต่ พ.ศ.2470-2474. พิมพ์ครั้งที่ 2. หน้า 545-547. กรุงเทพฯ: สถาบันพระปกเกล้า.

อนรรฆ พิทักษ์ธานินฒ. (2556). “ก่อนจะเป็น ปตท.”: ประวัติศาสตร์อุตสาหกรรมน้ำมันปิโตรเลียมในประเทศไทย ตั้งแต่ พ.ศ. 2489 ถึง 2521. วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรมหาบัณฑิต (ประวัติศาสตร์). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

อนุสรณ์งานพระราชทานเพลิงศพ ศ.พลโท พระยาศัลวิธานนิเทศ (แอบ รักตประจิต). ( 2533). ม.ป.ท.: ม.ป.พ.

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ เผดิม อังสุวัฒนะ. (2509). ม.ป.ท.: มิตรนราการพิมพ์.

Berman, Morris. (1978). Social Change and Scientific Organization: The Royal Institution, 1799-1844. Ithaca, New York: Cornell University Press.

Bucchi, Massimiano.(2004). Science in Society: An Introduction to Social Studies of Science. London and New York: Routledge.