การเมืองท้องถิ่นกับการจัดการขยะมูลฝอยในกรุงเทพฯ (พ.ศ. 2479-2518)

Main Article Content

วิภพ หุยากรณ์

บทคัดย่อ

บทความวิจัยนี้ศึกษาประวัติศาสตร์ของการเมืองท้องถิ่นกับการจัดการขยะมูลฝอยในกรุงเทพฯ ตั้งแต่ พ.ศ. 2479-2518 ซึ่งเป็นการศึกษาประวัติศาสตร์สิ่งแวดล้อมภายใต้บทบาทของหน่วยการเมืองระดับท้องถิ่นในกรุงเทพฯ บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อแสดงให้เห็นพัฒนาการของการจัดการขยะมูลฝอยในกรุงเทพฯ ท่ามกลางความเปลี่ยนแปลงของการเมืองระดับท้องถิ่น และชี้ให้เห็นพลวัตของการจัดการขยะมูลฝอยที่สัมพันธ์อยู่กับการเมืองทั้งในระดับท้องถิ่นและระดับชาติซึ่งเป็นปัจจัยฉับพลันนำไปสู่การแก้ไขปัญหาขยะมูลฝอยในแต่ละช่วงเวลา บทความนี้ใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ศึกษาเอกสารทางประวัติศาสตร์ทั้งเอกสารราชการ งานวิจัยร่วมสมัยที่ศึกษาการดำเนินงานของเทศบาล หนังสือพิมพ์ และหนังสือที่ระลึกต่างๆ จากการศึกษาพบว่า โครงการจัดการขยะมูลฝอยของกรุงเทพฯ ล้วนเกิดจากปัจจัยทางการเมืองที่เข้ามาเปลี่ยนแปลงการตัดสินใจอย่างฉับพลันท่ามกลางความเปลี่ยนแปลงของสังคมและเมือง ทั้งการกำหนดสถานที่เทขยะมูลฝอยของเทศบาลนครกรุงเทพ โรงงานผลิตปุ๋ยอินทรีย์จากขยะมูลฝอย ตลอดจนการต่อรองกับรัฐบาลเพื่อผลประโยชน์ของเทศบาล และปฏิสัมพันธ์ระหว่างท้องถิ่นกับประชาชนที่ได้รับความเดือดร้อนรำคาญจากขยะมูลฝอย

Article Details

How to Cite
หุยากรณ์ ว. (2023). การเมืองท้องถิ่นกับการจัดการขยะมูลฝอยในกรุงเทพฯ (พ.ศ. 2479-2518). วารสารประวัติศาสตร์ มศว, 48(1), 31–60. สืบค้น จาก https://so19.tci-thaijo.org/index.php/JOH/article/view/141
บท
บทความวิจัย

References

สจช. บัญชีประมวลข่าวเหตุการณ์สำคัญ พ.ศ.2511 ก/ป2/2511/22 “การเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาลนครกรุงเทพและนครธนบุรี” (28 ก.พ. 2511-30 ก.ค. 2511).

สจช. เอกสารกรมราชเลขาธิการ รัชกาลที่ 7 กระทรวงมหาดไทย ร.7ม6/4 “กรมนคราทรทิ้งขยะที่สวนลุมพินี” (18 ก.ค.-10 ธ.ค. 2470).

สจช. เอกสารกรมราชเลขาธิการ รัชกาลที่ 7 กระทรวงมหาดไทย ร.7ม6/5 “บันทึกความเห็น นาย ซี. โบดาร์ต เรื่องการทำลายขยะมูลฝอย (Notes on Refuse disposal and incineration by Charles Baudart, C.E., E.C.P., M.S.I.C. Nongkae April 1929)”.

สจช. เอกสารกระทรวงมหาดไทย มท.5.16/24 “สถานที่ทำลายขยะของเทศบาลนครกรุงเทพ (พ.ศ. 2483)”.

สจช. เอกสารกระทรวงมหาดไทย มท.5.16/119 “ที่ปรึกษาการเงินเทศบาลนครกรุงเทพ (พ.ศ. 2482-2484)”.

สจช. เอกสารกระทรวงมหาดไทย มท.5.16/200 “การรักษาความสะอาด (พระนคร-ธนบุรี) จังหวัดพระนคร” (พ.ศ. 2486-2487).

สจช. เอกสารกรุงเทพมหานคร กทม1.1/1 “การโรงงานและเครื่องทำปุ๋ยจากขยะมูลฝอยของเทศบาลนครกรุงเทพ” (26 ก.ค. 2501-21 เม.ย. 2502).

สจช. เอกสารกรุงเทพมหานคร กทม1.1/3 “รายงานการประชุมสภาเทศบาลนครกรุงเทพ” (16 เม.ย. 2489-3 ก.ค. 2495).

สจช. เอกสารกรุงเทพมหานคร กทม1.4.7/4 “รายงานการแก้ไขปรับปรุงความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยตามที่นายกรัฐมนตรีสั่งการในเดือนมิถุนายน 2502” (19 พ.ค.-8 ก.ค.2502).

สจช. เอกสารกรุงเทพมหานคร กทม4.9.1/29 “รายงานการประชุมสำนักรักษาความสะอาด” (19 มี.ค. 2518).

สจช. เอกสารกรุงเทพมหานคร กทม4.9.1/32 “ภาวะงานทำลายมูลฝอยของกรุงเทพมหานคร โดย นายเจริญ อันตะริกานนท์ เรียบเรียงเสนอคณะกรรมการพิจารณากำหนดวิธีการกำจัดมูลฝอยระยะยาว” (9 พ.ค. 2518).

สจช. เอกสารรัชกาลที่ 5 กระทรวงนครบาล กรมสุขาภิบาล (แผนกรักษาความสะอาด) ร.5น.5.12/3 “สัญญาจ้างเหมาขนย้ายขยะมูลฝอยในพระนคร” (24ก.พ.116-8มี.ค.116).

สจช. เอกสารรัชกาลที่ 5 กระทรวงนครบาล กรมสุขาภิบาล (แผนกรักษาความสะอาด) ร.5น.5.12/23 “เรื่องการโสโครกในที่ว่างระหว่างวังน่าวัดราชบุรณะ” (11เม.ย.121-22มี.ค.123).

สจช. เอกสารรัชกาลที่ 5 กระทรวงนครบาล กรมสุขาภิบาล (แผนกรักษาความสะอาด) ร.5น.5.12/24 “การรักษาสวนดุสิตเกี่ยวแก่การสุขาภิบาล ร.ศ. 121” (1 7เม.ย. 121-25 พ.ค. 122).

สจช. เอกสารรัชกาลที่ 5 กระทรวงนครบาล กรมสุขาภิบาล (แผนกรักษาความสะอาด) ร.5น.5.12/41 “กองฝุ่นฝอยที่หลังป้อมสัตบรรพต” (16 พ.ย. 123-5 ธ.ค. 123).

สจช. เอกสารสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สคก.1 เล่ม 188/1 “ร่างกฎหมายและความเห็นทางกฎหมาย เรื่อง ร่างพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ.2477” (4 ก.ค.-1 ก.พ. 2477).

สจช. เอกสารสำนักนายกรัฐมนตรี (3)สร.0201.26/27 “คำร้องทุกข์ของราษฎรบริเวณถนนดินแดง ว่าได้รับความเดือดร้อนจากเศษขยะที่เทศบาลนครกรุงเทพนำไปทิ้ง” (30 พ.ย. -6 ธ.ค. 2499).

สจช. เอกสารสำนักนายกรัฐมนตรี (3)สร.0201.43/29 “การขัดแย้งระหว่างนายกเทศมนตรีนครกรุงเทพกับอธิบดีกรมโยธาเทศบาล” (17 ต.ค. 2493-23 ม.ค. 2495).

สจช. เอกสารสำนักนายกรัฐมนตรี (3)สร.0201.43/31 “เบ็ดตะเล็ดเรื่องนายกฯ และเทศบาลนครกรุงเทพ” (26 มิ.ย. 2494-13 ธ.ค. 2495).

สจช. เอกสารสำนักนายกรัฐมนตรี สร.0201.25/834 “ไทยิสท์ เสนอว่า ที่ดินหลังตึกแถวไนเขตชุมชนหนาแน่น และนิคมข้าราชการในพระนคร (พ.ศ. 2485).”

ชำนาญ ยุวบูรณ์. (2509). ความรู้เกี่ยวกับงานของเทศบาลนครกรุงเทพ จัดพิมพ์เป็นธรรมบรรณาการในงานพระราชทานเพลิงศพ พลเอก มังกร พรหมโยธี ณ เมรุหน้าพลับพลาอิศริยาภรณ์ วัดเทพศิรินทราวาส วันพุทธที่ 29 มิถุนายน พุทธศักราชการ 2509. พระนคร: โรงพิมพ์ส่วนท้องถิ่น กรมการปกครอง.

เทศบัญญัติของเทศบาลนครกรุงเทพบางเรื่องที่ประชาชนควรสนใจ พิมพ์เป็นธรรมบรรณาการ ในงานพระราชทานเพลิงศพ มหาอำมาตย์ตรี พระยาประชากิจกรจักร (ชุบ โอสถานนท์) ณ เมรุวัดมกุฎกษัตริยาราม 8 กุมภาพันธ์ 2499. (2499). พระนคร: บริษัทชุมนุมช่าง (แผนกการพิมพ์).

เทศบาลนครกรุงเทพ. (2501). เทศบาลนครกรุงเทพในรอบ 21 ปี. พระนคร: โรงพิมพ์กรมมหาดไทย.

เทศบาลนครกรุงเทพ. (2510). ที่ระลึกคล้ายวันสถาปนา เทศบาลนครกรุงเทพ ครบรอบ 30 ปี 27 พฤษภาคม 2510. พระนคร: โรงพิมพ์ส่วนท้องถิ่น กรมการปกครอง.

นันทกา สุประภาตะนันทน์. (2500). ประพัฒน์ วรรธนะสาร กับงานเทศบาล; และการสัมภาษณ์ พลเอก มังกร พรหมโยธี เรื่องกิจการในหน้าที่เทศบาล และกระทรวง

ศึกษาธิการ พิมพ์เป็นธรรมบรรณาการในงานพระราชทานเพลิงศพ นายประพัฒน์ วรรธนะสาร ณ เมรุวัดเทพศิรินทราวาส 1 เมษายน 2500. พระนคร: ชุมนุมการช่าง (แผนกการพิมพ์).

บ้านเมือง (ก็) ของเรา. (2514, 24 ตุลาคม). สยามรัฐ.

ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง สมาชิกผู้เริ่มการแห่งสภานครกรุงเทพ และสภานครธนบุรี เมื่อวันที่ 20 มีนาคม พ.ศ. 2479. (2479, 23 มีนาคม). ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 53. หน้า 4167-4179.

ประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 24 [มีสถานะเทียบเท่าพระราชบัญญัติ กำหนดให้รวมจังหวัดพระนครและจังหวัดธนบุรีเป็นหนึ่งจังหวัด เรียกว่า นครหลวงกรุงเทพธนบุรี]. (2514, 21 ธันวาคม). ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 88 ตอนที่ 144. หน้า 816-819.

ประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 25 [มีสถานะเทียบเท่าพระราชบัญญัติ กำหนดให้รวมเทศบาลนครกรุงเทพและเทศบาลนครธนบุรี เป็นเทศบาลสำหรับนครหลวงกรุงเทพธนบุรี เรียกว่า เทศบาลนครหลวง]. (2514, 21 ธันวาคม). ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 88 ตอนที่ 144. หน้า 820-824.

ประกาศของคณะปฏิวัติฉบับที่ 335 [มีสถานะเทียบเท่าพระราชบัญญัติ ให้ปรับปรุงระเบียบบริหารราชการ ส่วนราชการ และแบ่งขอบเขตท้องที่การปกครอง ใน

นครหลวงกรุงเทพธนบุรี]. (2515, 13 ธันวาคม). ราชกิจจานุเบกษา, ฉบับพิเศษ เล่ม 89 ตอนที่ 190. หน้า 187-201.

ประมวลสุนทรพจน์ของจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ พ.ศ. 2502-2504 คณะรัฐมนตรีพิมพ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ ฯพณฯ จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ ณ เมรุหน้าพลับพลา

อิสริยาภรณ์ วัดเทพศิรินทราวาส เมื่อวันที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2507. (2507). พระนคร: โรงพิมพ์สำนักนายกรัฐมนตรี.

พระราชกฤษฎีกากำหนดเขตต์ที่ดินในบริเวณที่ที่จะเวนคืนในท้องที่ตำบลถนนพญาไท และตำบลสามเสนใน อำเภอดุสิต จังหวัดพระนคร พ.ศ. 2484. (2484, 18 มีนาคม). ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 58. หน้า 400-403.

พระราชกฤษฎีกามอบสิทธิกิจการบางส่วนในกรมสาธารณสุข กรมตำรวจ และกรมโยธาเทศบาล กระทรวงมหาดไทย ให้เทศบาลนครกรุงเทพ ฯ จัดทำ พ.ศ. 2480. (2480, 12 กรกฎาคม). ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 54. หน้า 769-771.

พระราชกฤษฎีกามอบสิทธิกิจบางส่วนตลอดทั้งพนักงานเจ้าหน้าที่ในกรมโยธาเทศบาล กระทรวงมหาดไทยให้เทศบาลนครกรุงเทพฯ จัดทำ พ.ศ. 2479. (2480, 1 เมษายน). ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 54. หน้า 54-59.

พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2477. (2478, 1 พฤษภาคม). ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 52. หน้า 281-318.

พระราชบัญญัติจัดระเบียบเทศบาล พุทธศักราช 2476, ส่วนที่ 1 และส่วนที่ 2. (2477, 24 เมษายน). ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 51. หน้า 84-89.

พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2518. (2518, 20 กุมภาพันธ์). ราชกิจจานุเบกษา, ฉบับพิเศษ เล่ม 92 ตอนที่ 42. หน้า 1-59.

พระราชบัญญัติรายได้เทศบาล พ.ศ. 2497. (2497, 9 มีนาคม). ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 71 ตอนที่ 16. หน้า 466-472.

พระราชบัญญัติเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ในท้องที่ตำบลพญาไท และตำบลสามเสนใน อำเภอดุสิต จังหวัดพระนคร พ.ศ. 2485. (2485, 12 พฤษภาคม). ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 59. หน้า 1050-1054.

รายงานการประชุมสภาผู้แทนราษฎร ครั้งที่ 26 (สมัยสามัญ สมัยที่หนึ่ง) วันพฤหัสบดีที่ 23 พฤศจิกายน พุทธศักราช 2476, ฉบับสำนักการพิมพ์ ครั้งที่ 1 ถึง ครั้งที่ 30 (สมัยสามัญ สมัยที่หนึ่ง) พ.ศ. 2476. (ม.ป.ป.). กรุงเทพฯ: กองการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร.

สำนักงานปุ๋ย พิมพ์เป็นอนุสรณ์ ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายแพทย์ แสง สุทธิพงศ์ (พระชาญวิธีเวช) ม.ว.ม. ป.ช. ท.จ. ณ เมรุหน้าพลับพลาอิสริยาภรณ์ วัดเทพศิริ

นทราวาส วันอาทิตย์ที่ 28 ธันวาคม พ.ศ. 2512. (2512). พระนคร: ห้างหุ้นส่วนจำกัดไทยสงเคราะห์ไทย (แผนกการพิมพ์).

อนุสรณ์ ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายแพทย์แสง สุทธิพงศ์ (พระชาญวิธีเวช) ม.ว.ม., ป.ช., ท.จ. ณ เมรุหน้าพลับพลาอิสริยาภรณ์ วัดเทพศิรินทราวาส 28 ธันวาคม 2512. (2512). พระนคร: บพิธ.

อนุสรณ์ในการพระราชทานเพลิงศพหลวงทรงสารการ (เล็ก กนิษฐสุต) ณ เมรุวัดธาตุทอง พระโขนง วันอังคารที่ 23 มกราคม พ.ศ.2516. (2516). กรุงเทพฯ: สนิทพันธ์การพิมพ์.

กรุงเทพมหานคร. (2542). จากเทศบาลสู่กรุงเทพมหานคร. กรุงเทพฯ: ชวนพิมพ์.

ณัฐพล ใจจริง และศรัญญู เทพสงเคราะห์. (2558). พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวกับแนวพระราชดำริด้านการปกครองท้องถิ่น. กรุงเทพฯ: สถาบันพระปกเกล้า.

ไพบูลย์ ช่างเรียน. (2516). การปกครองมหานคร. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช.

เลิศดำริห์การ. (2533). กรุงเทพฯ: หอรัตนชัยการพิมพ์.

สมัคร เจียมบุรเศรษฐ์. (2517). ทุจริตพันล้านบาทในเทศบาลนครกรุงเทพ การสอบสวนทรัพย์สิน คณะรัฐมนตรี พร้อมทั้งเครือญาติ การเปิดอภิปรายไม่ไว้วางใจ ร.ม.ต. มหาดไทย กลโกงการเลือกตั้ง. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มิตรไทย.

อาภรณ์ จันทร์เจริญสุข. (2513). บันทึกแสดงกิจการในหน้าที่และแก้ไขสิ่งที่บกพร่อง เรื่อง ผังเมืองกรุงเทพในอนาคต. พระนคร: เทศบาลนครกรุงเทพ.

ณัฐวุฒิ ปรียวนิตย์. (2557). การตัดถนนในพระนครกับผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจของชนชั้นนำสยาม. หน้าจั่ว: ว่าด้วยสถาปัตยกรรม การออกแบบ และสภาพแวดล้อม วารสารวิชาการ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร. 28: 347-379.

นิภาพร รัชตพัฒนากุล. (2557). ความหมายของ “สาธารณะ” ในประวัติศาสตร์เมืองกรุงเทพ: ข้อสังเกตจากการจัดการสิ่งแวดล้อมเมืองกรุงเทพของกรมสุขาภิบาล. วารสารสมาคมประวัติศาสตร์ฯ 36: 163 - 193.

โชคชัย มันตานุรักษ์. (2562). เปลี่ยนกลิ่นกรุงเทพฯ สู่ความศิวิไลซ์: การจัดการปัญหาความสกปรก กลิ่นเหม็น และความไร้ระเบียบ ทศวรรษ 2410-2440. ปริญญานิพนธ์ศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต (สาขาประวัติศาสตร์). กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ..

ธานินทร์ ทิพยางค์. (2551). การรักษาความสะอาดในกรุงเทพฯ ระหว่าง พ.ศ. 2440 – 2475. ปริญญานิพนธ์ ศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต (สาขาประวัติศาสตร์). กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

ธำรง สุขเจริญ. (2521). การบริหารงานรักษาความสะอาดของกรุงเทพมหานคร : ศึกษาเฉพาะกรณีปัญหาและการแก้ปัญหาการกวาด เก็บขน และทำลายมูลฝอย. วิทยานิพนธ์รัฐศาสตรมหาบัณฑิต (สาขาการปกครอง). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ประภัสสร อินธิแสน. (2523). บทบาทของสุขาภิบาลที่มีต่อการปกครองตนเองในท้องถิ่นระหว่างปี พ.ศ.2441-2476. วิทยานิพนธ์อักษรศาสตร์มหาบัณฑิต (สาขาประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ภัทรนิษฐ์ เกียรติธนวิชญ์. (2562). รัฐและสังคมสยามกับการจัดการความรู้สึก : ระบอบความสยดสยอง, พ.ศ. 2394-2453. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต (สาขาประวัติศาสตร์). เชียงใหม่: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

เยาวรัตน์ พุฒิมานรดีกุล. (2527). การเปลี่ยนแปลงของกรุงเทพในช่วงรัชกาลที่ 5-7 และผลกระทบทางสภาพแวดล้อมต่อประชาชน. วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรมหาบัณฑิต (สาขาประวัติศาสตร์). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สยมพร ทองสาริ. (2526). ผลกระทบจากการตัดถนนในกรุงเทพฯ ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (พ.ศ.2411-2523): ศึกษาเฉพาะกรณีการตัดถนนในกำแพงพระนครด้านเหนือและด้านใต้พระนคร. วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรมหาบัณฑิต (สาขาประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้). นครปฐม: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.

สุรพล สุดารา และคณะ. (2525). ประวัติปัญหาสภาวะแวดล้อมในสมัยรัตนโกสินทร์. กรุงเทพฯ: โครงการวิจัยได้รับทุนอุดหนุน เพื่อเพิ่มพูนและพัฒนาประสิทธิภาพทางวิชาการเรื่อง พัฒนาการทางด้านวิชาการของแต่ละสาขาวิชาในรอบ 200 ปี แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ พ.ศ. 2525 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สุวัสดี โภชน์พันธุ์. (2543). เทศบาลและผลกระทบต่ออำนาจท้องถิ่น พ.ศ.2476-2500. วิทยานิพนธ์อักษรศาสตร์มหาบัณฑิต (สาขาประวัติศาสตร์). กรุงเทพฯ: คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

อชิรวิทย์ สุพรรณเภสัช. (2515). เทศบาลนครหลวง: การศึกษามูลเหตุของการจัดตั้ง รูปแบบ และปัญหาการบริหาร. วิทยานิพนธ์ปริญญา พบ.ม. (สาขา

รัฐประศาสนศาสตร์). กรุงเทพฯ: คณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.

Chitrabongs, Chittawadi, M. L. (2011). The politics of Defecation in Bangkok of the Fifth Reign. Journal of the Siam Society, Vol. 99: 172 - 195.

Doron, Assa and Jeffrey, Robin. (2018). Waste of a Nation: Garbage and Growth in India. Cambridge, Massachusetts: Harvard University Press.

Landsberger, Stefan. (2019). Beijing Garbage: a city besieged by waste. Amsterdam: Amsterdam University Press.

Melosi, Martin V. (1981). Garbage in the cities: refuse, reform, and the environment: 1880-1980. Texas: Taxas A & M University Press.

Ouyyanont, Porphant. (1997). Bangkok’s Population and the Ministry of the Capital in Early 20th Century Thai History. Southeast Asian Studies. 35(2): 240-260.

Pollans, Lily Baum. (2021). Resisting Garbage: the politics of waste management in American cities. Austin: University of Texas Press.

Strach, Patricia; Sullivan, Kathleen; and Pérez-Chiqués, Elizabeth. (2019, October). The Garbage Problem: Corruption, Innovation, and

Capacity in Four American Cities, 1890–1940. Studies in American Political Development. 33(2): 209-233. Retrieved May 2, 2020, from https://doi-org.ezproxy.tulibs.net/10.1017/S0898588X19000087.

Strasser, Susan. (2000). Waste and want: a social history of trash. second edition. New York: Henry Holt.