การใช้แอ็กทีฟ ไดเรกทอรีในการยืนยันตัวตนและกำหนดสิทธิ์ผู้ใช้งานสำหรับระบบสารสนเทศโรงพยาบาล

ผู้แต่ง

  • วิภาวี รื่นจิตต์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล กรุงเทพมหานคร 10700

คำสำคัญ:

แอ็กทีฟ ไดเรกทอรี, เอดี, การยืนยันตัวตน, การกำหนดสิทธิ์, ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล

บทคัดย่อ

ในยุคแห่งความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศ ปฏิเสธไม่ได้เลยว่าการบริหารงานต่าง ๆ ขององค์กรในปัจจุบันล้วนขับเคลื่อนด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ การบริหารงานโรงพยาบาลก็เช่นเดียวกัน ซึ่งระบบสารสนเทศโรงพยาบาลนั้นเป็นระบบที่มีขนาดใหญ่ ประกอบด้วยระบบสารสนเทศย่อย ๆ หลายระบบ ทำงานสอดประสาน สนับสนุน เชื่อมต่อข้อมูลเข้าด้วยกัน ตลอดจนมีผู้ใช้งานที่เกี่ยวข้องเป็นจำนวนมาก ทั้งภายในหน่วยงานและต่างหน่วยงาน ดังนั้นการเข้าใช้งานระบบสารสนเทศในโรงพยาบาลต้องมีการตรวจสอบยืนยันตัวตนและจัดการสิทธิ์การเข้าถึงข้อมูลที่มีความสำคัญเพื่อรักษาความปลอดภัยและความเป็นส่วนตัวของผู้ใช้งาน

ระบบ Active Directory เป็นเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพในการจัดการและควบคุมการเข้าถึงข้อมูลในระบบสารสนเทศโรงพยาบาล โดยมีบทบาทสำคัญในการจัดการการยืนยันตัวตนและการกำหนดสิทธิ์ผู้ใช้งาน เช่น การกำหนดสิทธิ์ในการเข้าถึงเอกสารทางการแพทย์ การตรวจสอบสิทธิ์ในการเข้าถึงแฟ้มข้อมูลของผู้ป่วยและการจัดการสิทธิ์การเข้าถึงระบบโดยรวม ด้วยความสามารถในการจัดการและควบคุมอย่างมีประสิทธิภาพ Active Directory จึงเป็นเครื่องมือที่สำคัญในการป้องกันการเข้าถึงข้อมูลที่ไม่เหมาะสมและช่วยให้ระบบสารสนเทศโรงพยาบาลมีความปลอดภัยและเชื่อถือได้ในการใช้งาน

References

นิธิ ภัทรปิติตานนท์, และ อิศรา แย้มงามเหลือ. (2562). การยกระดับองค์กรด้วยระบบ Active Directory. วารสาร Mahidol R2R e-Journal, 6(2), 1–8.

สมาคมเวชสารสนเทศไทย. (2564). กรอบการพัฒนาคุณภาพเทคโนโลยีสารสนเทศโรงพยาบาล. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก https://tmi.or.th/wp-content/uploads/2021/12/HospitalIT_QualityImproveFramework_V2.pdf (สืบค้นเมื่อ กุมภาพันธ์ 2567).

สุจิตรา ยอดเสน่หา. (2560). การประยุกต์ใช้ระบบยืนยันตัวตนเพียงครั้งเดียวในการบริหารจัดการห้องเรียนออนไลน์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก http://www.repository.rmutt.ac.th/dspace/handle/123456789/2855 (สืบค้นเมื่อ มกราคม 2567).

เอกชัย แก้วเรืองฤทธิ์. (2566). การยืนยันตัวบุคคลเพื่อเข้าใช้งานระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ของสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 11 จังหวัดนครศรีธรรมราช. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก https://ddc.moph.go.th/uploads/ckeditor2//files/3.การยืนยันตัวบุคคล_เอกชัย_สคร11.pdf (สืบค้นเมื่อ มีนาคม 2567).

Chai, W., & Gillis, A. S. (2021). Active directory. [Online]. Available: https://www.techtarget.com/searchwindowsserver/definition/Active-Directory (Retrieved October 2023).

HOCCO. (2023). ระบบ HIS คืออะไร ทำไมโรงพยาบาลต้องมี [ดูประโยชน์และการใช้งาน]. [Online]. Available: https://hocco.co/blog/what-is-his-systems/ (Retrieved September 2023).

Kron. (2022). What is AAA (Authentication, Authorization & Accounting)?. [Online]. Available: https://krontech.com/what-is-aaa-authentication-authorization-accounting (Retrieved March 2024).

Magnusson, A. (2023). The definitive guide to authentication. [Online]. Available: https://www.strongdm.com/authentication (Retrieved August 2023).

Phothiin, P. (2021). Authentication และ Authorization คืออะไร? ต่างกันอย่างไร?. [Online]. Available: https://monsterconnect.co.th/authentication-vs-authorization/ (Retrieved September 2023).

SailPoint. (2023). What is the difference between authentication and authorization?. [Online]. Available: https://www.sailpoint.com/identity-library/difference-between-authentication-and-authorization/ (Retrieved October 2023).

Simister, A. (2024). What is Active Directory and how does it work?. [Online]. Available: https://www.lepide.com/blog/what-is-active-directory-and-how-does-it-work/ (Retrieved March 2024).

Sinaga, R. N., Mitra, & Saputra, K. (2024). Implementation of hospital management information system for optimizing healthcare service operations at a hospital. Viva Medika: Jurnal Kesehatan, Kebidanan Dan Keperawatan, 17(1), 164–173. https://doi.org/10.35960/vm.v17i1.1329

Downloads

เผยแพร่แล้ว

14-06-2025

How to Cite

รื่นจิตต์ . ว. . . (2025). การใช้แอ็กทีฟ ไดเรกทอรีในการยืนยันตัวตนและกำหนดสิทธิ์ผู้ใช้งานสำหรับระบบสารสนเทศโรงพยาบาล. วารสารวิชาการ ปขมท., 14(2), e2024. สืบค้น จาก https://so19.tci-thaijo.org/index.php/CUASTJournal/article/view/2024