ภาวะสุขภาพจิตของนักศึกษาคณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยเฉลิมกาญจนา
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาภาวะสุขภาพจิตของนักศึกษาคณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาลัยเฉลิมกาญจนา กลุ่มตัวอย่างครั้งนี้ จำนวน 43 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามสถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล แบบแจกแจงความถี่ ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์หาความสัมพันธ์ โดยใช้สถิติไคสแควร์ ผลการศึกษาพบว่า มีสภาะสุขภาพจิต เหมือนปกติ พบว่า ภาวะสุขภาพจิตของนักศึกษาชั้นปีที่ 1 มีสภาะสุขภาพจิต เหมือนปกติร้อยละ 70.28 รองลงมา คือภาวะสุขภาพจิตของนักศึกษาชั้นปีที่ 4 มีสภาะสุขภาพจิต เหมือนปกติร้อยละ 56.47 ภาวะสุขภาพจิตของนักศึกษาชั้นปีที่ 2 มีสภาะสุขภาพจิต เหมือนปกติร้อยละ 54.38 และภาวะสุขภาพจิตของนักศึกษาชั้นปีที่ 3 มีสภาะสุขภาพจิต เหมือนปกติร้อยละ 39.50 ตามลำดับ
References
กรมสุขภาพจิต. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ. (2560). ปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพจิต. แผนงานพัฒนา
นวัตกรรมเชิงระบบเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพจิต: หจก.วนิดาการพิมพ์.
ณัฐวุธ แก้วสุทธาและคณะ. (2557).ภาวะสุขภาพจิตและปัจจัยที่สัมพันธ์ในนิสิตทันต แพทย์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทร์วิโรฒ.
วารสารมหาวิทยาลัยศรีนครินทร์วิโรฒ(สาขา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี),ปีที่ 6 ฉบับที่ 11 มกราคม-มิถุนายน.
วารีรัตน์ ถาน้อย และคณะ. (2555). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อภาวะสุขภาพจิตของนักศึกษาคณะพยาบาลศาสตรมหาวิทยาลัย
มหิดล. วารสารสภาการพยาบาล, 27(ฉบับพิเศษ): 60-76.
วรรณา กองสังข์. ประเมินการปฏิบัติงานด้านส่งเสริมและป้ องกันปัญหาสุขภาพจิตชุมชน ของอาสาสมัครสาธารณสุข
ประจําหมู่บ้าน ตําบลโคกมน อําเภอนําหนาว จังหวัดเพชรบูรณ์. วารสารวิชาการป้องกันควบคุมโรค สคร.2
พิษณุโลก 2556:,1 (ฉบับที่ 1) : 47-57.
Shives. (2012). Basic concepts of psychiatric-mental health nursing. New York: Lippincott Williams & Wilkins
World Health Organization [WHO]. Mental health [Internet]. 2014. Avaliable from: http://www.who.
int/topics/mental health/en
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2022 วารสารวิชาการเฉลิมกาญจนา

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.