กลยุทธ์ด้านคุณภาพการให้บริการของพนักงานสายการบิน เพื่อประสิทธิภาพการดำเนินงานของสายการบิน
คำสำคัญ:
คุณภาพการบริการ ประสิทธิภาพการดำเนินงาน ธุรกิจสายการบินบทคัดย่อ
งานวิจัยฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากลยุทธ์ด้านคุณภาพการให้บริการของพนักงานสายการบินเพื่อประสิทธิภาพการดำเนินงานของสายการบิน โดยศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างคุณภาพการให้บริการของพนักงานสายการบินที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการดำเนินงานของสายการบิน ด้วยระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ สำรวจความคิดเห็นจากพนักงานผู้ปฎิบัติงานกับสายการบิน เพื่อการค้นหาข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาคุณภาพงานบริการของสายการบิน รวมถึงผลที่ได้ต่อประสิทธิภาพการดำเนินงานของสายการบิน ประชากรตัวอย่างที่ศึกษาวิจัย ได้แก่ 1) พนักงานผู้ให้บริการบนเครื่องบิน จำนวน 4 คน 2) พนักงานผู้ให้บริการภาคพื้นที่ท่าอากาศยานจำนวน 4 คน 3) พนักงานด้านกลยุทธ์การดำเนินงานของสายการบินจำนวน 4 คน รวมทั้งสิ้น 12 คน เครื่องมือที่ใช้เพื่อการรวบรวมข้อมูลสำหรับการวิจัย คือ แบบสัมภาษณ์เชิงลึกแบบมีโครงสร้าง (Structural Interview) เพื่อศึกษาและวิเคราะห์เนื้อหาข้อมูลเชิงคุณภาพ
ผลการวิจัยพบว่า 1) ปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ อายุ การศึกษา สถานภาพสมรส และประสบการณ์ทำงานมีผลต่อคุณภาพงานบริการของสายการบิน 2) ปัจจัยส่วนบุคคลและปัจจัยด้านคุณภาพการให้บริการของสายการบินที่มีผลเชื่อมโยงถึงประสิทธิภาพการให้บริการของสายการบิน 3) คุณภาพงานบริการของสายการบินที่ดำเนินงานโดยพนักงานสายการบินมีผลต่อการตัดสินใจเลือกใช้บริการจากสายการบินซ้ำจากสายการบินเดิมที่เคยใช้บริการเมื่อจะเดินทางในครั้งต่อไป ดังนั้น สายการบินควรให้ความสำคัญต่อการพัฒนาพนักงานสายการบินในด้านต่าง ๆ ได้แก่ ด้านองค์ความรู้ ด้านทักษะส่วนบุคคล ด้านพฤติกรรมและด้านทัศนคติ เพื่อให้งานบริการของสายการบินมีคุณภาพตามความต้องการของผู้ใช้บริการ
References
แก้วตา ผู้พัฒนพงศ์ และคณะ. (2561). สมรรถนะของผู้ปฏิบัติงานกับคุณภาพการให้บริการขององค์การ. วารสารเกษมบัณฑิต, 19(ฉบับพิเศษ), 1-13.
งานพัฒนาศูนย์ข้อมูล SMEs. (2557). บทบาท ข้อดีและข้อเสียการขนส่งสินค้าทางอากาศ. [ออนไลน์]. ค้นเมื่อ 28 พฤศจิกายน 2565, จาก: https://www.sme.go.th/upload/mod_download/.
ทารินี บุนนาค และคณะ. (2562). การศึกษาสมรรถนะการบริการของพนักงานต้อนรับบนเครื่องบิน สายการบินต้นทุนต่ำ. บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
ธงชัย จีระดิษฐ์. (2565). เอกสารประกอบการสอนการปฏิบัติงานบริการและการจัดการคุณภาพใน
อุตสาหกรรมการบิน. สำนักพัฒนาบุคลากรการบิน. มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต.
ลลิดา พลสุวรรณ และคณะ. (2559). การพัฒนาคุณภาพการบริการสำหรับสายการบินต้นทุนต่ำ. วารสารวิชากามหาวิทยาลัยอิสเทิร์นเอเชียฉบับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. 10(3). 147-163.
วสุตม์ โชติพานิช. (2560). ปัจจัยด้านคุณภาพบริการ การรับรู้คุณค่าและภาพลักษณ์สายการบินที่ส่งผลต่อความตั้งใจซื้อบริการซ้ำในบริบทของสายการบินเต็มรูปแบบ. บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.
วีรยา ทยานุวัฒน์. (2563). คุณภาพการบริการที่ส่งผลต่อการตัดสินใจใช้บริการสายการบินต้นทุนต่ำ กรณีศึกษาสายการบินนกแอร์. สารนิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาการตลาด. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
ขยล ตันติชาติวัฒน์. (2023). 5 เทรนด์สุดล้ำ โจทย์ใหญ่ของการพัฒนา ‘สนามบินแห่งอนาคต’ ดัน สนามบินไทยสู่ระดับโลก. วันที่เผยแพร่: April 24, 2023. Source: https://www.salika.co/2023/04/24/5-hi-tech-airport- trend-for-Thailand/
บรรจง พลไชย, และวิสัย คะตา. (2560). การบริการสารสนเทศและการประเมินผล. ว.มหาวิทยาลัย นครพนม. ฉบับการประชุมวิชาการครบรอบ 25 ปี. วิทยาลัยพยาบาลบรม
บุษกร เชี่ยวจินดากานต์. (2561, มกราคม - มิถุนายน). เทคนิคการวิจัยเชิงคุณภาพแบบกรณีศึกษา. มหาวิทยาลัยรามคำแหง. 25(13), 103-118.
ประชาชาติธุรกิจ. (2566). สนามบินสุวรรณภูมิ คาดนักท่องเที่ยวจีนเข้าไทยทะลุล้าน ส.ค.นี้. วันที่เผยแพร่: วันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2566 - 13:37 น. แหล่งที่มา: https://www.prachachat.net/general/news-1206868
สุวิมล ติรกานันท์. (2549). การใช้สถิติในงานวิจัยทางสังคมศาสตร์: แนวทางสู่การปฏิบัติ. (พิมพ์ครั้งที 2). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สุเนตร์ หัสขันธ์.
อานนท์ จันจิตร. (2563). การพัฒนาคุณภาพการบริการเพื่อการตั้งใจกลับมาใช้บริการซ้ำของสายการบิน ต้นทุนต่ำในประเทศไทย. วิทยานิพนธ์. ปริญญามหาบัณฑิต.การจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบ บูรณาการ. สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. กรุงเทพมหานคร.
Banathy, B.H. (1968). Instructional System. Belmont, California: Fearow.
Chainiran. (2008). Safety and technology acceptance affect decision to purchase airfare
Through Online applications for Thai tourists. Release date: 22 November 2022. Source: https://he02.tcithaijo.org/index.php/spsc_journal/article/download/240469/16 3897/
Cronbach, L. J. (1970). Essentials of Psychological Testing. New York: Harper & Row.
DeLone, W. H. and McLean, E. R. (1992). Information system success: The quest for the dependent variable, information System Research
Jan Uphues. (2022). 5 aviation trends to watch for in 2022. [online]. Retrieved November 28, 2022, from: https://www.inform-software.com/blog/post/5-aviation-trends-to-watch-for-in-2022.
Skytrax World Airline Award. (2022). The Passenger’s Choice Awards. [online]. Retrieved February 22,2022. from: https://www.worldairlineawards.com/.
Kindred. (1975). School Public Relation. New Jersey: Englewood Cliffs
Low & Doerflein. (2014). Airport Information Technology (IT). Faculty of Management Sciences. Panyapiwat Institute of Management
Marketeer Team. (2018). Boarding ticket checking system. Release date: July 21, 2019
Source: https:// marketeeronline.co/archives/113961.
Parasuraman, A., Zeithaml, V. A., & Berry, L. L. (1993). More on improving service Quality
Measurement. Journal of Retailing, 141-147.
Porter, M. E. (1980). Competitive strategy: Techniques for analyzing industries and competitors. New York: The Free Press.
Robbins, Stephen P. & Mary Coulter. (2003). Management. (7thed). New Jersey: Engle Wood
Cliffs Prentice Hall.
Roslan Nor, Atiqah Aima; Mohd Nor, Norasmiha; Wahab, Eta. (2015). Service Quality: A Case Study Using SERVQUAL Model. American Scientific Publishers. Source: advanced Science Letters, Volume 21, Number 6, June 2015, pp. 2159-2162(4)
Sabrina Tazreen. (2012). An Empirical Study of Servqual as a Tool for Service Quality Measurement. IOSR Journal of Business and Management 1(5):9-19
Seddon, P.B. (1997). A Respecification and Extension of the DeLone and McLean Model of IS Success. Journal of Information Systems Research, 8, 240-253. http://dx.doi.org/10.1287/isre.8.3.240
Tuemaster Admin. (2020). Benefits of Technology. Release date: June 1, 2020. Source: https://tuemaster.com/blog/Benefit of-technology/#:~:text
Turban, Efraim, McLean, Ephraim R. & Wetherbe, James C. (1999). Information Technology for Management: Making Connections for Strategic Advantage. (2nd ed).
New York: John Wiley & Sons.
Zheng Hongbo. (2020). Intelligent Learning System: Shenzhen Airport Develops Intelligence with Huawei's Horizon Digital Platform. Release date: 19 November 2020. Source: https://e.huawei.com/th/case-studies/leading-new-ict/digital-city/shenzhen-airport
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 วารสารการจัดการอุตสาหกรรมการบิน มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.