ความสัมพันธ์ระหว่างเทคโนโลยีสารสนเทศ ความสามารถ และคุณภาพการให้บริการของเทคโนโลยี ณ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ

ผู้แต่ง

  • เนตร์ศิริ เรืองอริยภักดิ์ มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต
  • วราภรณ์ จิตบุญ
  • พิชามญชุ์ วรวะลัย
  • อรกัญญา แก้วสวัสดิ์
  • คคนางค์ ตันมณีสาคร
  • ชนิกานต์ ต่อกำไร
  • จุฬาภา กระกรกุล
  • ชนกนันท์ ห้วยหงส์ทอง
  • ธีรนาฎ เดชฤทธิรงค์

คำสำคัญ:

ความสามารถเทคโนโลยีสารสนเทศ, คุณภาพการให้บริการเทคโนโลยีสารสนเทศ

บทคัดย่อ

วัตถุประสงค์: 1) เพื่อสำรวจข้อมูลส่วนบุคคลของผู้โดยสาร ณ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ 2) เพื่อสำรวจเทคโนโลยีสารสนเทศ ณ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ 3) เพื่อสำรวจความสามารถเทคโนโลยีสารสนเทศ ณ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ 4) เพื่อสำรวจคุณภาพการให้บริการเทคโนโลยีสารสนเทศ ณ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ วิธีวิจัย: งานวิจัยเชิงปริมาณ ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือเก็บกับกลุ่มตัวอย่างผู้โดยสาร ณ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ จำนวน 400 คน ใช้วิธีสุ่มแบบไม่อาศัยความน่าจะเป็น ด้วยวิธีเก็บแบบบังเอิญ สถิติที่ใช้ เชิงพรรณนา ค่าเฉลี่ย ร้อยละ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การแจกแจงความถี่ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต สถิติเชิงอนุมานใช้    t-test, f-test, One-way Anova และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ ผลการวิจัยพบว่า: ข้อมูลส่วนบุคคลไม่มีความสัมพันธ์ต่อความสามารถ และคุณภาพการให้บริการเทคโนโลยีสารสนเทศ ด้านความสามารถเทคโนโลยีสารสนเทศ และคุณภาพการให้บริการเทคโนโลยีสารสนเทศมีความสัมพันธ์กันในด้านมุ่งผลสัมฤทธิ์ โดยมากที่สุดด้านความน่าเชื้อมีความสัมพันธ์กันในด้านมุ่งผลสัมฤทธิ์ โดยมากที่สุดด้านความน่าเชื่อถือได้ในระดับมากที่สุด ทางด้านทฤษฎี/นโยบาย: ท่าอากาศยานควรให้ความสำคัญการพัฒนาขีดความสามารถการให้บริการเทคโนโลยีสารสนเทศให้มีความทันสมัย ตอบสนองความต้องการของผู้โดยสารเพื่อให้เกิดความน่าเชื่อถือ ยอมรับ และใช้งาน โดยตอบสนองความต้องการของผู้โดยสารเป็นหลัก

References

ขยล ตันติชาติวัฒน์. (2023). 5 เทรนด์สุดล้ำ โจทย์ใหญ่ของการพัฒนา ‘สนามบินแห่งอนาคต’ ดัน สนามบินไทยสู่ระดับโลก. วันที่เผยแพร่: April 24, 2023. Source: https://www.salika.co/2023/04/24/5-hi-tech-airport- trend-for-Thailand/

บรรจง พลไชย, และวิสัย คะตา. (2560). การบริการสารสนเทศและการประเมินผล. ว.มหาวิทยาลัย นครพนม. ฉบับการประชุมวิชาการครบรอบ 25 ปี. วิทยาลัยพยาบาลบรม

ประชาชาติธุรกิจ. (2566). สนามบินสุวรรณภูมิ คาดนักท่องเที่ยวจีนเข้าไทยทะลุล้าน ส.ค.นี้. วันที่เผยแพร่: วันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2566 - 13:37 น. แหล่งที่มา: https://www.prachachat.net/general/news-1206868

สุวิมล ติรกานันท์. (2549). การใช้สถิติในงานวิจัยทางสังคมศาสตร์: แนวทางสู่การปฏิบัติ. (พิมพ์ครั้งที 2). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สุเนตร์ หัสขันธ์.

อานนท์ จันจิตร. (2563). การพัฒนาคุณภาพการบริการเพื่อการตั้งใจกลับมาใช้บริการซ้ำของสายการบิน ต้นทุนต่ำในประเทศไทย. วิทยานิพนธ์. ปริญญามหาบัณฑิต.การจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบ บูรณาการ. สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. กรุงเทพมหานคร.

Banathy, B.H. (1968). Instructional System. Belmont, California: Fearow.

Chainiran. (2008). Safety and technology acceptance affect decision to purchase airfare

Through Online applications for Thai tourists. Release date: 22 November 2022. Source: https://he02.tcithaijo.org/index.php/spsc_journal/article/download/240469/16 3897/

Cronbach, L. J. (1970). Essentials of Psychological Testing. New York: Harper & Row.

DeLone, W. H. and McLean, E. R. (1992). Information system success: The quest for the dependent variable, information System Research

Kindred. (1975). School Public Relation. New Jersey: Englewood Cliffs

Low & Doerflein. (2014). Airport Information Technology (IT). Faculty of Management Sciences. Panyapiwat Institute of Management

Marketeer Team. (2018). Boarding ticket checking system. Release date: July 21, 2019

Source: https:// marketeeronline.co/archives/113961.

Parasuraman, A., Zeithaml, V. A., & Berry, L. L. (1993). More on improving service Quality

Measurement. Journal of Retailing, 141-147.

Robbins, Stephen P. & Mary Coulter. (2003). Management. (7thed). New Jersey: Engle Wood

Cliffs Prentice Hall.

Roslan Nor, Atiqah Aima; Mohd Nor, Norasmiha; Wahab, Eta. (2015). Service Quality: A Case Study Using SERVQUAL Model. American Scientific Publishers. Source: advanced Science Letters, Volume 21, Number 6, June 2015, pp. 2159-2162(4)

Sabrina Tazreen. (2012). An Empirical Study of Servqual as a Tool for Service Quality Measurement. IOSR Journal of Business and Management 1(5):9-19

Seddon, P.B. (1997). A Respecification and Extension of the DeLone and McLean Model of IS Success. Journal of Information Systems Research, 8, 240-253. http://dx.doi.org/10.1287/isre.8.3.240

Tuemaster Admin. (2020). Benefits of Technology. Release date: June 1, 2020. Source: https://tuemaster.com/blog/Benefit of-technology/#:~:text

Turban, Efraim, McLean, Ephraim R. & Wetherbe, James C. (1999). Information Technology for Management: Making Connections for Strategic Advantage. (2 nd ed).

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-08-31

How to Cite

เรืองอริยภักดิ์ เ., จิตบุญ ว., วรวะลัย พ., แก้วสวัสดิ์ อ., ตันมณีสาคร ค., ต่อกำไร ช., กระกรกุล จ., ห้วยหงส์ทอง ช., & เดชฤทธิรงค์ ธ. (2023). ความสัมพันธ์ระหว่างเทคโนโลยีสารสนเทศ ความสามารถ และคุณภาพการให้บริการของเทคโนโลยี ณ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ. วารสารการจัดการอุตสาหกรรมการบิน, 1(1), 35–54. สืบค้น จาก https://so19.tci-thaijo.org/index.php/KBUJAM/article/view/100