การยกระดับความนึกคิดและสภาวะทางอารมณ์ด้วยหลักธรรม เพื่อช่วยเหลือผู้ป่วยโรคซึมเศร้า

ผู้แต่ง

  • พระวิชรญาณ วิสุทธิญาโณ (โม้แหยม) มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน
  • ดร.อภิชิต เหมือยไธสง มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน
  • พระมหาวิรุธ วิโรจโน (นิลเพ็ชร) มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาลัยศาสนศาสตร์ยโสธร

คำสำคัญ:

การยกระดับความนึกคิด, สภาวะทางอารมณ์, หลักธรรม, โรคซึมเศร้า

บทคัดย่อ

บทความวิชาการนี้มุ่งนำเสนอแนวทางการประยุกต์ใช้หลักธรรมทางพุทธศาสนาเพื่อยกระดับความนึกคิดและสภาวะทางอารมณ์ของบุคคล โดยเฉพาะอย่างยิ่งในบริบทของสังคมไทยร่วมสมัยซึ่งมีผู้ป่วยโรคซึมเศร้าเพิ่มขึ้นเป็นจำนวนมาก จึงเห็นว่าแนวคิดด้านพุทธศาสนาและจิตวิทยา การศึกษาพบว่า หลักธรรมสำคัญ เช่น สติ สมาธิ และปัญญา มีบทบาทสำคัญในการพัฒนากระบวนการคิดและการจัดการอารมณ์ ซึ่งการบูรณาการหลักธรรมเข้ากับเทคนิคทางจิตวิทยาสมัยใหม่สามารถเสริมสร้างประสิทธิภาพในการพัฒนาตนเองได้อย่างยั่งยืน ลดจำนวนผู้ป่วยที่กำลังเป็นจะเป็นโรคซึมเศร้าได้เพิ่มมากขึ้น บทความนี้นำเสนอกรอบแนวคิดและแนวทางปฏิบัติสำหรับการประยุกต์ใช้หลักธรรมในชีวิตประจำวัน เพื่อส่งเสริมสุขภาวะทางจิตใจและการดำเนินชีวิตที่มีความสุขมากขึ้น

References

เขม เมืองมา. (2567). การจัดการความเครียดตามหลักพุทธธรรม. วารสารศาสตร์แห่งพุทธ, 3(1), 44-59.

จุฑามาศ แหนจอน. (2558). สมองกับอารมณ์ : มหัศจรรย์ความเชื่อมโยง. วารสารราชพฤกษ์, 13(3), 10-19.

ธนพัฒ์ เฉลิมรัตน์ และ ชิต จุลราช. (2563). การนำหลักพุทธธรรมมาประยุกต์ใช้ในการปรับสภาวะทำอารมณ์ : ศึกษากรณีผู้ต้องขังชาย เรือนจำจังหวัดเลย. วารสาร มจร. เลย ปริทัศน์, 1(1), 29-39.

ธัญนันท์ บุญอยู่ และ วรพหล แสงเทียน. (2566). อิทธิพลตัวแปรส่งผ่านด้านสภาวะทางอารมณ์ระหว่างอิทธิพลกลุ่มอ้างอิงกับการตัดสินใจซื้อสินค้าที่เกี่ยวกับความเชื่อของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร. วารสารวิจัยมหาวิทยาลัยเวสเทิร์น มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 9(3), 165-176.

พระครูวินัยธรศิริเชษฐ์ สิริวฑฺฒโน. (2564). การพัฒนาจิตใจมนุษย์โดยใช้หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา.วารสารมหาจุฬานาครทรรศน์, 8(7), 79-89.

พระณัฐวุฒิ พันทะลีและคณะ. (2564). อานาปานสติ : ลมหายใจแห่งการตื่นรู้ตามหลักพระพุทธศาสนา.วารสารวิชาการพระพุทธศาสนาเขตลุ่มแม่น้ำโขง, 4(2), 1-13.

พระมหายุทธพิชาญ ทองจันทร์ และ ยุภาพร ยุภาศ. (2565). การพัฒนาคุณภาพชีวิตตามหลักธรรมในยุคโควิด -19. วารสารวนัมฎองแหรกพุทธศาสตรปริทรรศน์, 9(1), 207-220.

พระอธิการกิตติศักดิ์ สุธี. (2562). โยนิโสมนสิการ หลักการนคิดที่เหมาะสมกับคนไทยในยุค 4.0. วารสารพุทธศิลปกรรม, 2(1), 87-101.

ศิริลักษณ์ ปัญญา และ เพ็ญนภา แดงด้อมยุทธ์. (2558). จิตบำบัดสัมพันธภาพระหว่างบุคคลแบบกลุ่มกับภาวะซึมเศร้าในผู้ป่วยโรคซึมเศร้า. วารสารพยาบาลตำรวจ, 7(1), 256-278.

หทัยรักษ์ สุโพธิ์ทอง. (2566). การฝึกสมาธิเพื่อการบำบัดโรคซึมเศร้า. วารสารสหวิทยาการนวัตกรรมปริทรรศน์, 6(5), 172-186.

อรพิน ตันติวิรุฬห์. (2565). การบูรณาการหลักธรรมในศาลเยาวชนและครอบครัว. วารสารสหวิทยาการนวตักรรมปริทรรศน์, 5(2), 68-78.

อรุณรัชช์ ศาสตร์สกุล. (2565). ทักษะการคิดเชิงคำนวณกับอิทธิบาท 4 หลักธรรมแห่งความสำเร็จ.วารสาร มจร บาฬีศึกษาพุทธโฆสปริทรรศน์, 8(3), 233-242.

อัมพร ธำรงลักษณ์. (2561). แรงงานทางอารมณ์ (Emotonal labor) ภาวะผู้นำการบริหารสาธารณะ.วารสารศรีปทุมปริทัศน์, 14(1), 138-141.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2025-06-29