4 ทศวรรษ กลุ่มศิลปินหญิงไทย : จาก “คณะนักร้อง” สู่ “ไอดอล-เกิร์ลกรุ๊ป”

Main Article Content

Thanapiti Thipa

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากลุ่มศิลปินหญิงที่เรียกว่า “เกิร์ลกรุ๊ป” ในประวัติศาสตร์วงการเพลงไทย ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2525 จนถึงปี พ.ศ. 2565 โดยพิจารณาข้อมูลจากเอกสารชั้นต้นและชั้นรอง ทั้งสื่อสิ่งพิมพ์และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ในฐานะ “หลักฐานร่วมสมัย” ที่ทำให้เห็นบริบทที่อยู่โดยรอบเกิร์ลกรุ๊ปไทย ณ ช่วงเวลาหนึ่ง ผลการศึกษาพบว่า เกิร์ลกรุ๊ปไทยประกอบสร้างขึ้นจากองค์ประกอบหลัก 3 ส่วนคือ ผู้ผลิต ได้แก่ 1. ค่ายเพลงหรือค่ายไอดอล ที่ผลิตงานเพลงและดูแลบริหารจัดการศิลปิน 2. สมาชิก ที่มีเกณฑ์พิจารณาออกเป็น 2 ส่วนคือ อายุของสมาชิก กับการเข้ามาเป็นศิลปินหรือไอดอล ซึ่งจะต้องได้รับการพัฒนาในด้านต่าง ๆ ก่อนจะกลายเป็นศิลปินที่นำเสนอตามแนวคิดของค่ายเพลงหรือค่ายไอดอล 3. ช่องทางในการนำเสนอ ได้แก่ สื่อดั้งเดิม เช่น สิ่งพิมพ์, วิทยุกระจายเสียง, โทรทัศน์ กับสื่อใหม่ เช่น เว็บไซต์, สื่อสังคมออนไลน์, ยูทูบ, แอปพลิเคชั่น รวมถึงกิจกรรมภายนอก เช่น เทศกาลดนตรี, อีเวนท์ต่าง ๆ ทั้งนี้ การเกิดขึ้นและการดำรงอยู่ของศิลปินเกิร์ลกรุ๊ปไทยในแต่ละช่วงเวลา ยังขึ้นอยู่กับปัจจัยด้านการเมือง, เศรษฐกิจ, สังคมและวัฒนธรรม ตลอดจนค่านิยมในช่วงเวลานั้น ขณะที่อิทธิพลของวัฒนธรรมสมัยนิยมจากต่างประเทศ อาทิ ชาติตะวันตก, ญี่ปุ่น, เกาหลีใต้ ต่างมีส่วนสำคัญต่อการผลิตงานเพลงและสร้างเกิร์ลกรุ๊ปไทย โดยปรากฏการนำเสนอผ่านแนวดนตรี, การแต่งกายตามสมัยนิยม ฯลฯ ซึ่งเป็นสิ่งที่เปลี่ยนแปลงไปตามทิศทางหรือแนวโน้มของธุรกิจดนตรีและบันเทิงในระดับสากล รวมถึงความต้องการของผู้บริโภคที่มีลักษณะปัจเจกมากขึ้น

Article Details

How to Cite
Thipa, T. (2024). 4 ทศวรรษ กลุ่มศิลปินหญิงไทย : จาก “คณะนักร้อง” สู่ “ไอดอล-เกิร์ลกรุ๊ป”. วารสารประวัติศาสตร์ มศว, 49(1), 36–62. สืบค้น จาก https://so19.tci-thaijo.org/index.php/JOH/article/view/454
บท
บทความวิจัย

References

หนังสือ

บุญชัย ใจเย็น. (2554). สองคนสองคม. กรุงเทพมหานคร : ปราชญ์.

พัชริดา วัฒนา. (2544). อ่านเล่น ๆ...ร้องเป็นเพลง. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร : บริษัท อาร์เอส. รีเทล จำกัด.

พีรวิชญ์ ฉั่วสมบูรณ์ และ ธัญวัฒน์ อิพภูดม. (2561). B SIDE the untold story of BNK48. กรุงเทพมหานคร : แซลมอน.

ระย้า. (2018). บันทึกเส้นทาง สาว สาว สาว. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์หยดน้ำ.

J2K. (2545). กว่าจะเป็น..อาร์เอส. กรุงเทพมหานคร : อินฟอร์มีเดีย บุ๊คส์.

ข่าวและบทความในสิ่งพิมพ์

‘เกิร์ลลี่ เบอร์รี่’ ขายอะไร!? ซี๊ด..ด ‘ตุ๊มต่อม’ ยั่วน้ำลาย!. (2547, 25 มิถุนายน). ไทยรัฐ. หน้า 35.

ขุนทอง อสุนี ณ อยุธยา. (2536, 28 พฤษภาคม). เพลงอึนอึน EXIT&CONCERT. มติชนสุดสัปดาห์ 13 (666) : 64-65.

คนเมือง แมนสรวง (นามปากกา). (2533, 20 พฤษภาคม). “เฮ้ย...ไม่ไหวแล้ว” สาว สาว สาว วงแตก! เปิดทางให้ “ดาวค้างฟ้า”. มติชนสุด สัปดาห์ 10 (507) : 44-45.

ต่อพงศ์ เศวตามร์. (2543, 22 พฤษภาคม). บั๊ก บันจี้... กับข้อผิดพลาดของรังไข่. มติชนสุดสัปดาห์ 20 (1031) : 76.

Girl Groups Girl Power. (2536, พฤศจิกายน-ธันวาคม). สีสัน 10 (10) : 62.

GMAG TEAM. (2009, January). Main Scoop: ผู้หญิงคืออะไร. The Guitar MAG, 40 (418) : 61.

Minim. (2020, November). แพรว special talk: SIZZY T-POP GIRL GROUP. แพรว 42 (964) : 84-93.

Woody. (2010, February). ซิงเกิ้ล / ระบบ วัดดวง / ทางออก. The Guitar MAG 53 (431) : 84-85.

บทความวิชาการ

ณทิตา ทรัพย์สินวิวัฒน์. (2560, มกราคม-มิถุนายน). “อุตสาหกรรมเพลงไทย ในยุคประเทศไทย 4.0”. วารสารวิชาการนวัตกรรมสื่อสารสังคม, 5 (1) : 157-167.

โดม ไกรปกรณ์. (2563, มกราคม-ธันวาคม). “ธุรกิจศิลปินไอดอล BNK48 ในกระแสความซบเซาของธุรกิจ เพลงไทย: ประวัติศาสตร์ธุรกิจบันเทิงไทยร่วมสมัย”. วารสารประวัติศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนคริ นทรวิโรฒ, 45 : 191-210.

เวฬุรีย์ เมธาวีวินิจ. (2562, มกราคม-มิถุนายน). “ภาพตัวแทนความรักและความสัมพันธ์ของหญิงสาวในบท เพลงของกลุ่มศิลปินหญิง: จาก สาว สาว สาว ถึง BNK48”. วารสารนิเทศศาสตร์ธุรกิจบัณฑิตย์ , 13 (1) : 80-129.

Yuya Kiuchi. (2017, February). Idols You Can Meet: AKB48 and a New Trend in Japan’s Music Industry. In The Journal of Popular Cultures, 50 (1) : 30-49.

วิทยานิพนธ์

ประภาวี ศิวเวทกุล. (2556). กลยุทธ์การตลาดของผู้นำเข้าศิลปินจากประเทศเกาหลีใต้ในประเทศไทย. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารวัฒนธรรม วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

พงศกร ชะอุ่มดี. (2560). ภาพถ่ายกับชีวิตวัยรุ่นชนชั้นกลางในกรุงเทพมหานคร ทศวรรษ 2500 ถึงต้น ทศวรรษ 2530. วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

พรพิมล ตันพานิชกุล. (2544). การใช้สื่อโทรทัศน์เพื่อการส่งเสริมตลาดผลงานเพลงของ บริษัท จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จำกัด (มหาชน). วิทยานิพนธ์นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการสื่อสารมวลชน คณะ นิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

พัชริดา วัฒนา. (2536). ศิลปินเพลงไทยสากลและสื่อมวลชน : วิถีทางในการสร้างความมีชื่อเสียง. วิทยานิพนธ์นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาการสื่อสารมวลชน บัณฑิตวิทยาลัย

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

รัฐนันท์ ขจัดภัย. (2562). การสื่อสารการตลาดเชิงความสัมพันธ์ของไอดอลใต้ดินไทยและการมีส่วนร่วมเชิง การตลาดของผู้ติดตาม. วิทยานิพนธ์นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานิเทศศาสตร์ คณะนิเทศ ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ศมกมล ลิมปิชัย. (2532). บทบาทของระบบธุรกิจเทปเพลงไทยสากลต่อการสร้างสรรค์ผลงานเพลง. วิทยานิพนธ์นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาการสื่อสารมวลชน บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย.

สุพลธัช เตชะบูรณะ. (2559). จาก “โรสซาวด์มิวสิค” สู่ “บริษัท อาร์เอส จำกัด (มหาชน)” พ.ศ. 2525-2552 : การศึกษาประวัติศาสตร์ธุรกิจ. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตร์ คณะ ศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

Nalin Wuttipong. (2011). The Thai Popular Music Industry: industrial form and musical design. Doctor of Philosophy Thesis, University of Nottingham.

สารนิพนธ์และอื่น ๆ

สุรกิตต์ สิงห์แก้ว. (2556). พฤติกรรมและอัตลักษณ์ความเป็นกลุ่มแฟนคลับ 48 Group ในกระแสวัฒนธรรม ย่อย J-pop. รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ หลักสูตรการวิจัยทางสังคม คณะสังคมวิทยาและ มานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

เหมือนฝัน มานตรี. (2556). การเผยแพร่เพลงกระแสนิยมญี่ปุ่นภายใต้กระแสโลกาภิวัตน์ : กรณีศึกษาศิลปิน วงเอเคบี 48. สารนิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการสื่อสารและวัฒนธรรมญี่ปุ่น คณะ ภาษาและการสื่อสาร สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.

แหล่งข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์

“แกรมมี่” ดัน 4 สาว “โอลีฟส์” ปลุกกระแส “เกิร์ลกรุ๊ป”. (2554). สืบค้นเมื่อวันที่ 21 พฤษภาคม 2566. จาก https://www.komchadluek.net/entertainment/102353.

คล้ายเพราะทีม "เกาหลี" ทำให้ คำอธิบายจาก "แคนดี้ มาเฟีย". (2553). สืบค้นเมื่อวันที่ 21 พฤษภาคม 2566. จาก https://www.komchadluek.net/entertainment/44763.

ธนพัฒน์ ชูวาธิวัฒน์. (2564). จับตา 4+1 เกิร์ลกรุ๊ปดาวรุ่งแห่งวงการ T-Pop ปี 2021. สืบค้นเมื่อวันที่ 21 พฤษภาคม 2566. จาก https://plus.thairath.co.th/topic/subculture/100094.

ปูมิ. (2013). AKB48 กับประเทศไทย. สืบค้นเมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม 2566. จาก https://entertainment.marumura.com/akb48-and-thailand/.

ผู้จัดการออนไลน์. (2562). ผุด-ยุบ-ออก-นอกกรอบ-รุกเชียงใหม่ บทสรุปวงการไอดอล 2562. สืบค้นเมื่อ วันที่ 20 พฤษภาคม 2566. จาก https://mgronline.com/onlinesection/detail/9620000124422.

พู่กัน เรืองเวส. (2565). T-POP Stage Show. The Cloud. สืบค้นเมื่อวันที่ 19 มิถุนายน 2566.

จาก https://readthecloud.co/t-pop-stage-show/.

ยอดมนุษย์..คนธรรมดา. (2562). Kamikaze. The Cloud. สืบค้นเมื่อวันที่ 21 พฤษภาคม 2566. จาก https://readthecloud.co/kamikaze/.

ยุคทองเพลงไทย อาร์เอส-แกรมมี่ นักร้องดังยุค 90 ความเหมือนที่แตกต่าง. (2563). สืบค้นเมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม 2566. จาก https://www.thairath.co.th/entertain/news/1957069.

เวที Girl Group Star ถึงบทสรุป! เผยโฉม 7 สมาชิกวงน้องใหม่ 4EVE. (2563). สืบค้นเมื่อวันที่ 21

พฤษภาคม 2566. จาก https://www.sanook.com/music/2425041/.

สาวิตรี รินวงษ์. (2564). ไหวไหม? จากไอดอล ‘BNK48-CGM48’ สู่การแสดง แหล่งรายได้ใหม่-ฟื้นกำไร ‘ไอ แอม’. สืบค้นเมื่อวันที่ 21 พฤษภาคม 2566. จาก https://www.bangkokbiznews.com/business/928349.

สาว สาว สาว เล่าความทรงจำ เกิร์ลกรุ๊ปกลุ่มแรกกับวิถีอินดี้ในยุคที่ยังไม่มีคำว่า “อินดี้”. (2020). สืบค้นเมื่อ วันที่ 17 พฤษภาคม 2566. จาก https://www.prachachat.net/d-life/news-220431.

AZM_TH. (2020). เหตุใดที่กระแสเพลง Pop ยุค Kamikaze เริ่มกลับมาเป็นที่นิยมอีกครั้งในปัจจุบัน. สืบค้น เมื่อวันที่ 21 พฤษภาคม 2566. จาก https://entertainment.trueid.net/detail/yDWLE9zPy6YX.

earnnana. (2562). 41 วงไอดอลทั้งหมดในประเทศไทย !. สืบค้นเมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม 2566. จาก https://www.mangozero.com/all-idols-in-thailand/.

Fever อำลาวงการ ผู้บริหารประกาศยุติบทบาทเนื่องจากผลกระทบ "โควิด-19". (2564). สืบค้นเมื่อวันที่ 21 พฤษภาคม 2566. จาก https://www.sanook.com/music/2432041/.

Jiratchaya Laosakul. (2564). เผลอแป๊บเดียวก็ได้พบเธอมา 4 ปีซะแล้ว! สรุปไทม์ไลน์ครบรอบ 4 ปี BNK48. สืบค้นเมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม 2566. จาก

https://www.mangozero.com/bnk48-4th-year-anniversary/.

MAII SMKT Fanclub. (2015). Siamese Kittenz @ Gang Cartoon kidz 1. สืบค้นเมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม 2566. จาก https://www.youtube.com/watch?v=YvW0PtSB760.

Pran Suwannatat. (2020). การกลับมาของกระแสปั้น Girl Group สัญชาติไทย ความสำเร็จที่ต้องรอดูต่อไป ในระยะยาว. สืบค้นเมื่อวันที่ 21 พฤษภาคม 2566. จาก

https://brandinside.asia/thai-music-label-try-to-debut-girl-group-again/.

Pran Suwannatat. (2020). โควิดกระทบวงไอดอลไทย ในวันที่จัดงานจับมือไม่ได้ ต้องปรับตัวไลฟ์สด VDO Call กับแฟนๆ. สืบค้นเมื่อวันที่ 21 พฤษภาคม 2566. จาก

https://brandinside.asia/thai-idol-adapt-to-covid-19-situation/.

TOTY Music Awards 2022 รางวัลดนตรีสำคัญของไทย หลักหมายใหม่เพลงฮิตยุคดิจิทัล บทความ โดย : พอล เฮง. (2565). workpointtoday. สืบค้นเมื่อวันที่ 19 มิถุนายน 2566. จาก https://workpointtoday.com/toty-music-awards-2022/.

-2527. (ม.ป.ป.). สืบค้นเมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม 2566. จาก http://www.saosaosao.com/chronology/2526-2527/.

-2533. (ม.ป.ป.). สืบค้นเมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม 2566. จาก http://www.saosaosao.com/chronology/2531-2533/.

Book

Patrick W.Galbraith and Jason G. Karlin. (2012). Introduction: The Mirror of Idols and Celebrity. In Idols and Celebrity in Japanese Media Culture. Edited by Patrick W.Galbraith and Jason G. Karlin. pp. 1-32. New York : PALGARVE MACMILLAN.