“กวาดล้างให้สิ้นซาก”: การเมืองอินโดนีเซีย หนังสือพิมพ์ฝ่ายขวา และการสังหารหมู่คอมมิวนิสต์ระหว่างปี 1965-1966

Main Article Content

ตวงทิพย์ พรมเขต

บทคัดย่อ

หลังกรณีเกสตาปูในปี 1965 พรรคคอมมิวนิสต์อินโดนีเซียถูกกล่าวหาว่าอยู่เบื้องหลังความพยายามปฏิวัติล้มล้างรัฐบาล และมีการสังหารหมู่สมาชิกพรรคและผู้ต้องสงสัยว่าฝักใฝ่คอมมิวนิสต์มากกว่า 500,000 คน บทความนี้ศึกษาปัญหาคอมมิวนิสต์ในอินโดนีเซียระหว่างปี 1965-1966 โดยเสนอว่ากองทัพ กลุ่มพลเรือนฝ่ายขวา และองค์กรมุสลิมสายจารีตใช้หนังสือพิมพ์เป็นเครื่องมือรณรงค์ปราบปรามกวาดล้างสมาชิกและผู้ต้องสงสัยว่าฝักใฝ่คอมมิวนิสต์ สร้างภาพให้คอมมิวนิสต์เป็นผู้ทรยศต่อชาติ พระเจ้า และหลักปัญจศีล จำเป็นจะต้องปราบปรามกวาดล้างให้สิ้นซาก เป็นผลให้มีการประกาศใช้กฎหมายต่อต้านคอมมิวนิสต์ในที่สุด นอกจากนี้ การสังหารหมู่คอมมิวนิสต์ยังสะท้อนให้เห็นความขัดแย้งทางอุดมการณ์การเมืองและศาสนาระหว่างฝ่ายขวากับพรรคคอมมิวนิสต์อินโดนีเซียโดยเฉพาะในเรื่องหลักปัญจศีล ซึ่งเป็นอุดมการณ์สูงสุดแห่งรัฐด้วย

Article Details

How to Cite
พรมเขต ต. (2023). “กวาดล้างให้สิ้นซาก”: การเมืองอินโดนีเซีย หนังสือพิมพ์ฝ่ายขวา และการสังหารหมู่คอมมิวนิสต์ระหว่างปี 1965-1966. วารสารประวัติศาสตร์ มศว, 47(1), 75–95. สืบค้น จาก https://so19.tci-thaijo.org/index.php/JOH/article/view/172
บท
บทความวิจัย

References

Agitprop Department of the Communist Party of Indonesia. (1953 March). The Fifth National Congress of the Communist Party of Indonesia. Marxists Internet Archive. Retrieved October 11, 2021, from https://www.marxists.org/ history/ indonesia/ 1953-ProgrammePKI.htm

Aidit, D. N. (1958, March-April). Documents of the Sixth Plenum of the Central Committee of the Communist Party of Indonesia. Marxists

Internet Archive. Retrieved October 1, 2021, from https://www.marxists.org/history/indonesia/1958-SixthPlenumCCPKI.htm

Aidit, D. N. (1962). Anti-Imperialisme dan Front Nasional [ต่อต้านลัทธิจักรวรรดินิยมและแนวร่วมแห่งชาติ]. Marxists Internet Archive. Retrieved October 1, 2021, from https://www.marxists.org/indonesia/indones/1962-AiditAntiImperialisme.htm

Aidit, D. N. (1963). PKI dan Angkatan Darat [เปกาอีและทหารบก]. Jakarta: Yayasan Pembaruan.

Bagi NU, Pembubaran PKI Tuntutan jg. Mutak [สำหรับเอ็นอู การกวาดล้างเปกาอีเป็นความต้องการสูงสุด]. (1965, 14 Oktober). Berita Yudha [เบอริตา ยูดา]. (Microfilm). p. 1.

Bubarkan CGMI [กวาดล้างเซเกเอ็มอี]. (1965, 12 Oktober). Berita Yudha [เบอริตา ยูดา]. (Microfilm). p. 2.

Buku2 karangan orang2 Komunis supaja diserahkan [ส่งมอบหนังสือที่มีความเกี่ยวข้องกับคอมมิวนิสต์]. (1966, 11 Juli). Berita Yudha [เบอริตา ยูดา]. (Microfilm). p. 2.

Dalam siding cabinet paripurna: Presiden kutuk pembunuhan biadab thd. Perwira2 TNI/Angkatan Darat [การประชุมคณะรัฐมนตรี: ประธานาธิบดีประณามการฆาตกรรมเจ้าหน้าที่ของกองทัพ/กองทัพบกอย่างป่าเถื่อน]. (1965, 7 Oktober). Berita Yudha [เบอริตา ยูดา]. (Microfilm). p. 1.

Gedung CC PKI dibakar [สำนักงานใหญ่เปกาอีถูกเผา]. (1965, 9 Oktober). Kompas [กอมปาส]. (Microfilm). p. 1.

Gerakan 30 September dibentuk oleh Gerakan Kontra Revolusi [ขบวนการ 30 กันยายน ถูกก่อตั้งโดยขบวนการต่อต้านการปฏิวัติ]. (1965, 4 Oktober). Berita Yudha [เบอริตา ยูดา]. (Microfilm). p. 2.

Hukuman Mati utk. Gembong G-30-S/PKI [โทษประหารสำหรับอุนตุง ผู้นำเก-30-เอ็ซ/เปกาอี]. (1966, 2 Maret). Berita Yudha [เบอริตา ยูดา]. (Microfilm). p. 1.

Indonesia akan merupakan bumi jang subur bagi Komunisme [แผ่นดินอินโดนีเซียจะไม่มีพื้นที่สำหรับแนวคิดคอมมิวนิสต์ที่สุดโต่ง]. (1966, 13 Juli). Berita Yudha [เบอริตา ยูดา]. (Microfilm). p. 1.

Itu gembong PKI Aidit di Jogjakarta? [ผู้นำเปกาอี ไอดิต อยู่ในยอกยาการ์ตาหรือไม่?]. (1965, 14 Oktober). Berita Yudha [เบอริตา ยูดา]. (Microfilm). p.3

MPRS tugaskan Bung Karno utk: Tjabut Bintang Mahaputra kelas III Aidit [เอ็มเปอาร์เอ็ซมอบหมายให้ซูการ์โน ถอดถอนดารามหาปุตราชั้นที่ 3 ของไอดิต]. (1966, 6 Juli). Berita Yudha [เบอริตา ยูดา]. (Microfilm). p. 1.

Pemakaman 7 Pahlawan Revolusi [เจ็ดวีรบุรุษแห่งการปฏิวัติ]. (1965, 6 Oktober). Kompas [กอมปาส]. (Microfilm). p. 1.

Perintah Presiden/Pangti ABRI/PBB/Mandataris MPRS kepada Men/Pangad Letdjen Soeharto [คำสั่งประธานาธิบดี/สภาที่ปรึกษาประชาชนชั่วคราวไปยังผู้บัญชาการ พลโทซูฮาร์โต]. (1966, 12 Maret). Berita Yudha [เบอริตา ยูดา]. (Microfilm). p. 1.

Perintah Pres/Pangti ABRI/PBR BungKarno: Tjiptakan satu suasana jg tenabg dan tertib [คำสั่งประธานาธิบดีซูการ์โน: สร้างบรรยากาศที่สงบและเป็นระเบียบ]. (1965, 4 Oktober). Berita Yudha [เบอริตา ยูดา]. (Microfilm). p. 1.

Presiden Sukarno mengangkat: Major Djendral Suharto sebagai Menteri/Panglima Ang. Darat Menggantikan Pahlawan Revolusi alm. Djenderal Anumerta A. Yani [ประธานาธิบดีซูการ์โนแต่งตั้งพลตรีซูฮาร์โตเป็นรัฐมนตรี/ผู้บัญชาการทหารบกแทนที่พลโทยานี วีรบุรุษของการปฏิวัติผู้ล่วงลับ]. (1965, 15 Oktober). Berita Yudha [เบอริตา ยูดา]. (Microfilm). p. 1.

Rakjat Atjejh & Kalimantan tuntut: Bubarkan PKI [ประชาชนอาเจะห์และกาลิมันตันเรียกร้องให้ปราบปราม เปกาอี]. (1965, 14 Oktober). Berita Yudha [เบอริตา ยูดา]. (Microfilm). p. 2.

Seruan Mahasiswa UI, Bubarkan DMUI Rapatkan barisan dan tingkatan kewaspadaan [นักศึกษาอูอีเรียกร้องให้มีการกวาดล้างเดเอ็มอูอีและเพิ่มระดับการเฝ้าระวัง]. (1965, 12 Oktober). Berita Yudha [เบอริตา ยูดา]. (Microfilm). p. 2.

Sukarno. (1970). The Pantja Sila. In Indonesian Political Thinking 1945-1965. Edited by Herbert Feith and Lance Castles. pp. 40-49. Ithaca and London: Cornell University Press.

U.I. Kutuk Gestapu [อู.อี. ต่อต้านเกสตาปู]. (1965, 16 Oktober). Kompas [กอมปาส]. (Microfilm). p. 1.

Undang-Undang Dasar Negera Republik Indonesia [รัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐอินโดนีเซีย]. Retrieved October 1, 2021, from https://www.mkri.id/public/content/infoumum/regulation/pdf/UUD45%20ASLI.pdf.

Anderson, Benedict R. O'G.; & McVey, Ruth T. (1971). A Preliminary Analysis of the October 1 1965, Coup in Indonesia. Ithaca, NY: Modern Indonesia Project, Southeast Asia Program, Cornell University.

Boland, B. J. (1971). Islam and the “New Order” (1965 and after) In The Struggle of Islam in Modern Indonesia. pp. 135-156. The Hague: Brill.

Cribb, Robert; & Brown, Colin. (1995). Modern Indonesia: A History since 1945. London and New York, NY: Longman Press.

Crouch, Harold. (1988). Guided Democracy: The Uneasy Balance of Power. In The Army and politics in Indonesia, pp. 43-68. Ithaca, NY: Cornell University Press.

Damian, Eddy; & Hornick, N. Robert. (1972, Summer). Indonesia’s Formal Legal System: An Introduction. The American Journal of Comparative. 20(3): 492-530.

Fealy, Greg; & McGregor, Katharine. (2010, April). Nahdlatul Ulama and the Killings of 1965-66: Religion, Politics, and Remembrance. Indonesia. (89): 37-60.

Federspiel, M. Howard. (1973, Autumn). The Military and Islam in Sukarno’s Indonesia. Pacific Affairs. 46(3): 407-420.

Feith, Herbert. (1964, August). President Soekarno, the Army and the Communists: The Triangle Changes Shape. Asian Survey. 4(8): 969-980.

Feith, Herbert. (1968, October). Suharto’s Search for a Political Format. Indonesia. (6): 88-105.

Firdaus, Arie. (2018). Indonesia: Supreme Court Increases Activist’s Sentence to 4 Years. Indonesian News. Retrieved October 16, 2021, from https://www.benarnews.org/english/news/indonesian/indonesia-rights-11202018161152.html

Lev, Daniel S. (1963-1964, Winter). The Political Role of the Army in Indonesia. Pacific Affairs. 36(4): 349-364.

Rabasa, Angel; & Haseman, John. (2002). The Changing Political Role of the Military. In The Military and Democracy in Indonesia: Challenges, Politics, and Power. pp. 35-52. Santa Monica: RAND Corporation.

Ricklefs, M. C. (2008). A History of Modern Indonesia since c. 1200. 4th ed. New York, NY: Palgrave Macmillan.

Robinson, B. Geoffrey. (2018). The Killing Season: A History of the Indonesian Massacres, 1965-66. Princeton & Oxford: Princeton University Press.

Roosa John. (2006). Pretext for mass Murder: the September 30th Movement and Suharto's Coup d’ État in Indonesia. Madison, WI: University of Wisconsin Press.

Roosa John. (2020). Buried Histories: The Anticommunist Massacres of 1965-1966 in Indonesia. Madison, WI: University of Wisconsin Press.

Sutter, O. John. (1966, October). Two Faces of Konfrontasi: Crush Malaysia and the Gestapu. Asian Survey. 6(10): 523-546.

Thaler, Kai M. (2018). U.S. Action and Inaction in the Massacre of Communists and Alleged Communists in Indonesia. In Dirty Hands and Vicious Deeds: The US Government’s Complicity in Crimes Against Humanity and Genocide, Edited by Samuel Totten. pp. 23-69. Toronto: University of Toronto Press.

Zulkifli, Arif; & Dhyatmika, Wahyu. (2012). Sarwo Edhie dan Misteri 1965 [ซาร์วู เอ็ดดี และความลึกลับ ปี 1965]. Jakarta: KPG (Kepustakaan Populer Gramedia).

Zulkifli, Arif; & Hidayat, Bagja. (2007, 1-7 Oktober). G30S dan Peran Aidit [เก30เอ็ซและบทบาทของไอดิต]. TEMPO English Edition. 5(7): 1-66.

ชนม์ธิดา อุ้ยกูล. (2561, มกราคม-มิถุนายน) เส้นแบ่งอัตลักษณ์ในอินโดนีเซีย: ความเกลียดชัง “คนอื่น” ในแคมเปญต่อต้านอาฮก. วารสารประวัติศาสตร์ ธรรมศาสตร์. 5(1): 66-115.

ตวงทิพย์ พรมเขต. (2563). D.N. Aidit ทีปะ นุสันตารา ไอดิตกับพรรคคอมมิวนิสต์ในอินโดนีเซีย. กรุงเทพฯ: อิลลูมิเนชันส์ เอดิชันส์.

ทวีศักดิ์ เผือกสม. (2555). ประวัติศาสตร์อินโดนีเซีย: รัฐจารีตบนหมู่เกาะ ความเป็นสมัยใหม่แบบอาณานิคมและสาธารณรัฐแห่งความหลากหลาย. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ.

วิทยา สุจริตธนารักษ์. (2546). พรรคการเมืองในอินโดนีเซีย. ใน พรรคการเมืองในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ศึกษาเฉพาะประเทศอินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ ไทย และ

มาเลเซีย. หน้า 3-73. กรุงเทพฯ: สถาบันเอเชียตะวันออกศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

อรอนงค์ ทิพย์พิมล. (2552, มกราคม-มีนาคม). สงครามความทรงจำกับพรรคคอมมิวนิสต์อินโดนีเซีย (1): กรณีคำสั่งเพิกถอนแบบเรียนประวัติศาสตร์. ฟ้าเดียวกัน. 7(1): 164-197.

อรอนงค์ ทิพย์พิมล. (2552, กรกฎาคม-กันยายน). สงครามความทรงจำกับพรรคคอมมิวนิสต์อินโดนีเซีย (2): กรณีคำสั่งเพิกถอนแบบเรียนประวัติศาสตร์. ฟ้าเดียวกัน. 7(3): 166-182.