บทสำรวจประเด็นคุณภาพการศึกษาไทย ตั้งแต่ พ.ศ. 2503-2514

Main Article Content

ชัยชาญ ปรางค์ประทานพร
ศิริพร ดาบเพชร

บทคัดย่อ

บทความวิจัยนี้ต้องการสำรวจความสัมพันธ์ระหว่างความคิดทางการศึกษา ปฏิบัติการทางการศึกษา และความรับรู้ของสังคมที่มีต่อปัญหาคุณภาพในสังคมไทย ในบริบททางเศรษฐกิจและสังคมที่เปลี่ยนไป ระหว่าง พ.ศ. 2503-2514


ผลการศึกษาพบว่าสงครามเย็นทำให้การเมืองและองค์ความรู้เกี่ยวกับการจัดการศึกษาของไทยเปลี่ยนไป นำไปสู่การร่วมมือกับต่างประเทศเพื่อปรับปรุงคุณภาพการศึกษา ให้สอดคล้องตามแนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจแบบอเมริกัน โดยเฉพาะในระบอบเผด็จการทหารนับตั้งแต่จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์จนถึงจอมพลถนอม กิตติขจร (พ.ศ. 2502-2516) ซึ่งระบบการศึกษาประสบปัญหาครูขาดสมรรถนะ นักเรียนและผู้ปกครองนิยมการศึกษาสายสามัญมากเกินไป ส่งผลทำให้นักเรียนมุ่งเรียนสายสามัญอย่างเดียวแม้จะไม่รู้จักตัวเอง นำไปสู่ผลสัมฤทธิ์ที่ตกต่ำ และภาวะปริญญาเฟ้อ ทั้งยังทำให้เกิดชนชั้นในโรงเรียน ส่งผลเสียต่อการพัฒนาอุตสาหกรรมหนักเพราะการผลิตช่างเทคนิคขาดแคลนและไม่ได้การยอมรับ แม้รัฐจะดำเนินโครงการโรงเรียนมัธยมแบบประสมแล้วแต่ปัญหาก็ยังไม่ทุเลา ส่วนหนึ่งเป็นเพราะระบบการบริหารการศึกษาของรัฐถูกแบ่งออกเป็นสามส่วน ทำให้ไม่เป็นเอกภาพ และสามารถประสานงานได้ยาก ระดับคุณภาพการศึกษาที่สังคมรับรู้มาจากผลการสอบ

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

สำนักหอจดหมายเหตุเเห่งชาติ. (2496). เอกสารส่วนบุคคลหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล สบ.5.1/20 จดหมายร้องเรียน.

สำนักหอจดหมายเหตุเเห่งชาติ. (2497). เอกสารส่วนบุคคลหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล สบ.5.27/81 เรื่อง ปาฐกถาเรื่อง “ความเคลื่อนไหวทางการศึกษา” ของ ม.ล. ปิ่น มาลากุล ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ณ คุรุสภา.

สำนักหอจดหมายเหตุเเห่งชาติ. (2499). เอกสารส่วนบุคคลหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล สบ.5.1/28 โครงการของกรมวิสามัญศึกษา.

สำนักหอจดหมายเหตุเเห่งชาติ. (2501). เอกสารส่วนบุคคลหม่อมหลวง ปิ่นมาลากุล สบ 5.2.2.1/2 ปึกที่ 1 งบประมาณในการ จัดเเนวการศึกษาชาติ.

สำนักหอจดหมายเหตุเเห่งชาติ. (2503). เอกสารส่วนบุคคลหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล สบ.5.1/72 สัดส่วนการจ้างงานตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจเเละสังคม แผนที่ 2.

สำนักหอจดหมายเหตุเเห่งชาติ. (2507). เอกสารส่วนบุคคลหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล สบ.5.2/130 เรื่อง เยาวชนไม่มีสถานที่ศึกษา.

สำนักหอจดหมายเหตุเเห่งชาติ. (2507). เอกสารส่วนบุคคลหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล สบ.5.2/133 เรื่อง จำนวนครูขาดเเคลน.

สำนักหอจดหมายเหตุเเห่งชาติ. (2512-2514). เอกสารกระทรวงศึกษาธิการ สำนักปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กองกลาง (2) ศธ 30.1/5 โครงการศึกษาชนบท (8 ก.ค. 2512-15 มิ.ย. 2514).

สำนักหอจดหมายเหตุเเห่งชาติ. (2514). เอกสารกระทรวงศึกษาธิการ กองกลาง สำนักปลัดกระทรวงศึกษาธิการ (2) ศธ 30.1/29 ปึกที่ 1 โครงการขอความช่วยเหลือจากต่างประเทศ.

พระบรมราชโองการ ประกาศ เรื่อง แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2503. (2503, 20 ตุลาคม). ราชกิจจานุเบกษา ฉบับพิเศษ เล่ม 77 ตอนที่ 86 ก. หน้า 7.

พระบรมราชโองการ ประกาศ เรื่อง แผนการศึกษาแห่งชาติ ฉบับที่ 2. (2512, 22 มกราคม). ราชกิจจานุเบกษา ฉบับพิเศษ เล่ม 86 ตอนที่ 6. หน้า 1

พระบรมราชโองการ ประกาศ เรื่อง แผนการศึกษาชาติ พ.ศ. 2494. (2494, 19 มิถุนายน). ราชกิจจานุเบกษา ฉบับพิเศษ เล่มที่ 68 ตอนที่38. หน้า 486.

พระราชบัญญัติโอนโรงเรียนประถมศึกษาบางประเภทไปสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2509. (2509, 16 กันยายน). ราชกิจจานุเบกษา ฉบับพิเศษ เล่ม 83 ตอนที่ 79 ก. หน้า 14.

กรมวิสามัญศึกษา. (2511). ข้อคิดในการจัดการมัธยมศึกษาในประเทศไทย. ขอนแก่น: โรงพิมพ์ศิริภัณฑ์.

กรมวิสามัญศึกษา. (2512). เรื่องน่ารู้ของกรมวิสามัญศึกษา. พระนคร: กรมวิสามัญศึกษา.

กระทรวงศึกษาธิการ. (2503). โครงการพัฒนาการศึกษาส่วนภูมิภาคเเละโครงการทดลองการศึกษาในด้านการบริหารการศึกษา. พระนคร: มงคลการพิมพ์.

กองแผนงาน สำนักงานปลัดกระทรวง กระทรวงศึกษาธิการ. (2514). สถิติการศึกษาฉบับย่อ. กรุงเทพฯ:

ม.ป.พ.

คณะกรรมการวางพื้นฐานเพื่อการปฏิรูปการศึกษา. (2518). การศึกษาเพื่อชีวิตและสังคม รายงานของ คณะกรรมการวางพื้นฐานเพื่อปฏิรูปการศึกษา. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ศูนย์การทหารราบ.

คณะรัฐมนตรี. (2507). ประมวลสุนทรพจน์ของจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์: พ.ศ. 2502-2504. พระนคร: สำนักทำเนียบนายกรัฐมนตรี

คำหมาน คนไค. (2522). พูดจาประสาครูบ้านนอก. กรุงเทพฯ: วิทวัส.

คุรุสภา. (2535). ศาสตราจารย์ ดร.สาโรช บัวศรี: บุคคลที่ทำคุณประโยชน์แก่การศึกษาของชาติอย่าง สูงยิ่ง. กรุงเทพฯ: คุรุสภา.

นิมิตร ภูมิถาวร. (2524). กระดานดำ กระดานรัก. กรุงเทพฯ: บงกช

บรรจง ชูสกุลชาติ. (2545). ชีวิตมนุษย์เป็นหนังสือเล่มใหญ่. กรุงเทพฯ: สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ.

ป๋วย อึ๊งภากรณ์. (2512). เรื่องการศึกษา. ใน ข้อคิดในการจัดการมัธยมศึกษาในประเทศไทย. ขอนแก่น: โรงพิมพ์ศิริภัณฑ์.

ปิ่น มาลากุล, หม่อมหลวง. (2516). เรื่องการศึกษา. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์. (2565). เครื่องแบบ ทรงผม หน้าเสาธง ไม้เรียว: ประวัติศาสตร์วินัยและการลงทัณฑ์ในโรงเรียนไทย. กรุงเทพฯ: มติชน.

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์. (2565). เลาะตะเข็บอำนาจประวัติศาสตร์การศึกษาไทย: ว่าด้วยความเปลี่ยนแปลงของโครงสร้างการการศึกษาในสังคมไทยจากการรวมสูนย์อำนาจของรัฐ การรัฐประหารและระบบราชการ ตั้งแต่ พ.ศ. 2490-2562. พิมพ์ครั้งแรก. กรุงเทพฯ : สมมติ.

ภูริ ฟูวงศ์เจริญ. (2563). การเมืองการปกครองไทย: พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ (พ.ศ. 2475-2540). กรุงเทพฯ: คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

รงค์ วงษ์สวรรค์. (2531). ครูสีดา. กรุงเทพฯ: มติชน.

ศาสตราจารย์บุญถิ่น อัตถากร. (2537). กรุงเทพฯ: บริษัทอมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จำกัด.

ศิวรักษ์ ศิวารมย์. (2540). ประวัติศาสตร์การศึกษา. เชียงใหม่: ภาควิชาพื้นฐานทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

สม ชัยสรรค์. (2518). สวัสดีคุณครู. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช.

สำนักเลขาธิการคณะกรรมการแห่งชาติว่าด้วยการศึกษาวิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ. (2499). การประชุมระหว่างประเทศว่าด้วยการศึกษาประชาชน รวบรวมข้อเสนอแนะ ฉบับที่ 1-41. กรุงเทพฯ: สำนักเลขาธิการคณะกรรมการแห่งชาติว่าด้วยการศึกษาฯ สหประชาชาติ.

กองการวิจัย กรมวิชาการ. (สิงหาคม 2504) การสำรวจภาวะความเป็นอยู่ของครู. วิจัยทางการศึกษา. 6 (สิงหาคม): 3.

เคน เเคมป์. (ตุลาคม-พฤศจิกายน 2522). ยาเสพติดอันเสมอภาค. วารสารการศึกษาแห่งชาติ. 14(1): 68-69.

ชัยโรจน์ ชัยอินคำ. ความเป็นมาของโรงเรียนมัธยมแบบประสมในประเทศไทย. วารสารแนะแนว. 2(5), 10.

เชื้อ สนั่นเมือง. (ตุลาคม 2515). ปัญหานักเรียนสอบตกในโรงเรียนประถมศึกษา. วิทยาจารย์. 71(8): 61

น้ำทิพย์ สิโรรส. (ตุลาคม 2514). ปัญหาเรื่องบัณฑิตว่างงานในอเมริกา. วิทยาจารย์. 70(8): 57-58.

ปิ่น มาลากุล, หม่อมหลวง. (มีนาคม 2501). คำปราศรัยของหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงศึกษาธิการ ทางสถานีวิทยุศึกษา ณ วันขึ้นปีใหม่ พ.ศ. 2501. วิทยาจารย์. 57(3):171-172.

พิภพ ธงชัย. (มกราคม 2510). ปัญหาบางประการในสถาบันครู. สังคมศาสตร์ปริทัศน์. 3(มกราคม 2510): 9.

สมหวัง พิธิยานุวัฒน์. (2529). การประเมินผลการเรียนระดับมัธยมศึกษา: สภาพปัญหาและแนวทางแก้ไข. วารสารวิธีวิทยาการวิจัย. 1(1): 1-15.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาเเห่งชาติ. (ธันวาคม 2522-มกราคม 2523). การอภิปรายร่วมในหัวข้อสภาพเเวดล้อมที่มีผลกระทบต่อการศึกษา. วารสารการศึกษาแห่งชาติ. 14(2): 35.

สิปปนนท์ เกตุทัต. (กุมภาพันธ์-มีนาคม 2522). อดีต ปัจจุบัน เเละอนาคตของการศึกษาไทย. วารสารการศึกษาเเห่งชาติ. 13(3): 2-3.

อำรุง จันทวานิช. (ตุลาคม-พฤศจิกายน 2522): การวิเคราะห์ประสิทธิภาพของการประถมศึกษา. วารสารการศึกษาเเห่งชาติ. 14(1): 22.

อุดมลักษณ์ คำนึงเนตร์. (พฤษจิกายน-ธันวาคม 2509). ยูเนสโกกับแผนการศึกษา. จันทรเกษม. พิเศษ(90-94):

จารุวรรณ ไวยเจตน์. (2516). การศึกษาภาคบังคับของไทยในระยะ 10 ปี ก่อน พ.ศ. 2475. ปริญญานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต. กรุงเทพฯ: วิทยาลัยวิชาการศึกษา ประสานมิตร.

แน่งน้อย ติตติรานนท์. (2519). เสนาบดีกระทรวงธรรมการในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์. วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรมหาบัณฑิต. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ปิยนาถ บุนนาคและคณะ. (2548). มโนทัศน์ของมาตรฐานและคุณภาพการศึกษาตั้งแต่รัชกาล พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวถึงสิ้นสุดสมบูรณาญาสิทธิราชย์ (พ.ศ. 2411-2475). กรุงเทพฯ: สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์มหาชน).

วันทนา เลิศสินไทย. (2523). นโยบายการจัดการศึกษาและการขยายการศึกษาภาคบังคับของประเทศไทย พ.ศ. 2503-2520. ปริญญานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต (ประวัติศาสตร์). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร.

เสน่ห์ จามริก. (2526). การเมืองกับการศึกษาของไทย. กรุงเทพฯ: โครงการพัฒนาสังคมศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ สำนักนายกรัฐมนตรี.

สมเกียรติ ตันสกุล. (2520). โอกาสในการศึกษากับความมุ่งปรารถนาในการเลื่อนฐานะ: ศึกษากรณีเฉพาะนักศึกษาวิทยาลัยครูมหาสารคาม. วิทยานิพนธ์สังคมวิทยามหาบัณฑิต. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

สมศรี เทพนุกูล. (2514). การวิเคราะห์ระบบบริหารโรงเรียนมัธยมแบบประสม. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สุดาดวง กำเนิดเพ็ชร์. ( 2506). ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับอบรมครูประจำทางที่ยังไม่มีวุฒิทางครูตามโครงการฝึกหัดครูชนบท. ปริญญานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต (การอุดมศึกษาและฝึกหัดครู). กรุงเทพฯ: วิทยาลัยวิชาการศึกษา ประสานมิตร.

อรสา ถาวรวงศ์สกุล. (2531). การจัดการศึกษาด้านพณิชยการของกรมอาชีวศึกษา ระหว่าง พ.ศ.2503-2529. ปริญญานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

อภิชัย พันธเสน และคณะ. (2558). การสังเคราะห์งานวิจัยว่าด้วยปัญหาและข้อเสนอแนะในกระบวนการจัดการศึกษาไทย: ประเด็นปัญหาคุณภาพการศึกษา (2535-2558). รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์นำเสนอต่อสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย

Alain Mounier, and Phasina Tangchuang. (2010). Education and knowledge in Thailand : The quality controversy. Chiang Mai: Silkworm Books.

Gerald W. Fry. (ธันวาคม 2522-มกราคม 2523). โรคหรือยาเเก้ ลัทธิปริญญานิยม. วารสารการศึกษาแห่งชาติ. 2: 52-63.

Silaporn Nakornthap. (1986). Educational Policy and Politics in Thailand: A Case Study of Education Reform, 1973-1977. Thesis (Ph.D.) Florida State University.

The joint Thai-USOM Human Resources Study. (1963). Preliminary Assessment of Education and Human Resources in Thailand. Bangkok: The Agency for International Development - USOM.

UNESCO. (2019). Educational quality. UNESCO Thesaurus. Retrieved https://vocabularies.unesco.org/browser/thesaurus/en/page/concept90