การวิเคราะห์ผลตอบแทนทางสังคมของโครงการด้านการศึกษา กรณีศึกษา มูลนิธิเยสุอิตเพื่อการศึกษา จังหวัดเชียงราย

ผู้แต่ง

  • ธนวิชญ์ สวรรค์เผ่าพันธ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย

คำสำคัญ:

การวิเคราะห์ผลตอบแทนทางสังคม, มูลนิธิเยสุอิตเพื่อการศึกษา

บทคัดย่อ

การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลลัพธ์ทางสังคมและวิเคราะห์ผลตอบแทนทางสังคมของโครงการด้านการศึกษา กรณีศึกษามูลนิธิเยสุอิตเพื่อการศึกษา จังหวัดเชียงราย โดยกลุ่มตัวอย่างประกอบด้วยผู้ปกครอง นักศึกษา และอาสาสมัครในช่วงปี 2560-2563 ใช้วิธีวิจัยแบบผสมผสานผ่านแบบสอบถามและสัมภาษณ์ ผลการวิจัยพบว่าผู้ปกครองมีผลลัพธ์ทางเศรษฐกิจ เช่น หนี้สินลดลง และด้านสุขภาพ คือมีความสุข นักศึกษามีผลลัพธ์ทางการศึกษา เช่น ทักษะภาษาอังกฤษและทักษะการทำงาน ทางเศรษฐกิจ คือมีงานทำและลดภาระหนี้สิน และทางสุขภาพ คือมีความสุขและสุขภาพดี อาสาสมัครมีผลลัพธ์ทางการศึกษา เช่น ทักษะการสอน ทางเศรษฐกิจ คือความพึงพอใจรายได้ และทางสุขภาพ คือมีความสุขและสุขภาพดี การวิเคราะห์ผลตอบแทนทางสังคม (SROI) ได้ค่า 1.70 หมายความว่า ทุก 1 บาทที่ลงทุนในโครงการสร้างผลตอบแทนทางสังคม 1.70 บาท แสดงว่าโครงการสร้างผลตอบแทนที่คุ้มค่าต่อการลงทุน

References

ภาษาไทย

เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์. (2543). จอมปราชญ์นักการศึกษา: สังเคราะห์วิเคราะห์และประยุกต์แนวพระ ราชดำรัสด้านการศึกษาและพัฒนาคน. (พิมพ์ครั้งที่2). กรุงเทพฯ: ด่านสุทธากรพิมพ์

กรีฑา สิมะวรา. (2557). โอการทางการศึกษากับความเป็นธรรมในสังคม. วารสารสารสนเทศ, 13(2), 55-61.

คณะแห่งพระเยซูเจ้าในประเทศไทย. ( ม.ม.ป). ชุมชนการเรียนรู้เซเวียร์ เชียงราย. สืบค้น 4 มกาคม 2567,จาก https://www.jesuits-thailand.org/th/places-works/xavier-learning-center-xlc- chiang-rai

ภาวรรณ ธนาเลิศสมบูรณ์. (2564). ไขรหัสความเหลื่อมล้ำการศึกษาไทย เหตุใดความช่วยเหลือไปไม่ถึงเด็ก ยากจน.สืบค้น 8 มกราม 2567, จาก https://www.eef.or.th/thai-report-education

วาสนา จักร์แก้ว และคณะ. (2561). การเพิ่มโอกาสและการเข้าถึงการศึกษาระดับอุดมศึกษาของเด็กด้อย โอกาสภาคเหนือตอนบน. Veridian E-Journal, 11(3),1906-3431.

ศุภิกา ตรีรัตนไพบูลย์. (2567). งบประมาณรายจ่ายด้านการสาธารณสุข: ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าที่ เป็นธรรม เพียงพอ และยั่งยืน. สำนักงบประมาณของรัฐสภา, 2567 (6). สืบค้น 2 กุมภาพันธ์ 2568, จาก https://web.parliament.go.th/assets/portals/82/news/1443/1_1443.pdf

อภิรดี นันท์ศุภวัฒน์, และคณะ. (2565). การวิเคราะห์ผลตอบแทนทางสังคมจากชุดความรู้สปาล้านนา. วารสารการจัดการสมัยใหม่, 20(2), 158-169.

English

Apiradee Nantsupawat et al. (2022). Social return on investment analysis from the Lanna Spa knowledge set. Modern Management Journal, 20(2), 158–169.

Kriangsak Charoenwongsak. (2000). The great scholar educator: Synthesis, analysis, and application of royal speeches on education and human development (2nd ed.). Bangkok: Dansuthakorn Printing.

Krita Simawara. (2014). Educational opportunities and social justice. Information Journal, 13(2), 55–61.

Phawan Thanalertsomboon. (2021). Decoding educational inequality in Thailand: Why aid does not reach poor children. Retrieved January 8, 2024, from https://www.eef.or.th/thai-report-education

Society of Jesus in Thailand. (n.d.). Xavier Learning Community, Chiang Rai. Retrieved January 4, 2024, from https://www.jesuits-thailand.org/th/places-works/xavier-learning- center-xlc-chiang-rai

Supika Treerattanipaiboon. (2024). Public health expenditure budget: Fair, adequate, and sustainable universal health coverage. Parliamentary Budget Office, 2024(6). Retrieved February 2, 2025, from https://web.parliament.go.th/assets/portals/82/news/1443/1_1443.pdf

Wasana Jakkraew et al. (2018). Increasing access and opportunity to higher education for underprivileged children in Upper Northern Thailand. Veridian E-Journal, 11(3), 1906–3431.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2025-05-28