A ความเชื่อ ความศรัทธา ผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น กับการท่องเที่ยวเชิงจิตวิญญาณ

Main Article Content

ธนิดา จอมยิ้ม

บทคัดย่อ

บทความนี้ วิชาการฉบับนี้ มีวัตถุประสงค์ในการศึกษาถึงแนวคิด และทฤษฎีของการท่องเที่ยวเชิงจิตวิญญาณเป็นรูปแบบหนึ่งของการเดินทางที่เกี่ยวข้องกับการค้นหาจุดมุ่งหมายของชีวิต และการเดินทาง เพื่อการค้นพบตนเอง การพัฒนา การท่องเที่ยวเชิงจิตวิญญาณ ความเชื่อ ความศรัทธา เป็นสิ่งที่มีความสำคัญในการสร้างความเป็นเอกลักษณ์ และเป็นการสร้างความยั่งยืนในการท่องเที่ยวอีกประการหนึ่ง การท่องเที่ยวเชิงจิตวิญญาณนี้ ส่วนมากมักจะเป็นกิจกรรมทางศาสนาและความเชื่อท้องถิ่น อีกทั้งการส่งเสริมให้ผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น หรือวัตถุมงคลให้เป็นที่รู้จักอย่างแพร่หลายในกลุ่มนักท่องเที่ยวที่มีความเชื่อ ความศรัทธา และต้องการสิ่งยึดเหนี่ยวจิตใจ ซึ่งเป็นอีกแนวทางในการเพิ่มรายได้ให้กับชุมชนหรือท้องถิ่นนั้น ๆ รวมทั้งเป็นกระบวนการสร้างความเข้าใจ และความเคารพต่อวัฒนธรรมทางศาสนา โดยให้คนในชุมชนมีส่วนร่วมกับกิจกรรมต่าง ๆ กับนักท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน ซึ่งการพัฒนานี้ สอดคล้องกับแนวทางการท่องเที่ยวเชิงจิตวิญญาณของประเทศไทย และมีศักยภาพในการเสริมสร้างความสัมพันธ์ระหว่างชุมชนต่อนักท่องเที่ยวทั้งชาวไทย และชาวต่างประเทศให้เป็นจุดหมายปลายทางของการท่องเที่ยวในอนาคตต่อไป

Article Details

How to Cite
จอมยิ้ม ธ. (2024). A ความเชื่อ ความศรัทธา ผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น กับการท่องเที่ยวเชิงจิตวิญญาณ. วารสารการบริหารและการจัดการธุรกิจยุคใหม่สู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน, 2(2), 1–10. สืบค้น จาก https://so19.tci-thaijo.org/index.php/JMMSD/article/view/353
บท
บทความวิชาการ

References

กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม. (2557). คู่มือแนวทางการดำเนินงานโครงการส่งเสริมการท่องเที่ยวเส้นทางแสวงบุญในมิติทางศาสนา ปี 2557. กรุงเทพฯ: สำนักงานพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม.

กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. (2559). รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยวไทย ไตรมาส 2/2559. กรุงเทพฯ :สำนักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา.

กิตติ บุญนำ. (2562). “แนวทางการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวเชิงศาสนาในจังหวัดนนทบุรี กรณีศึกษาวัดตะเคียน วัดแสงสิริธรรม วัดไทรใหญ่และพื้นที่ใกล้เคียง”. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 6 มหาวิทยาลัยปทุมธานี. ปทุมธานี มหาวิทยาลัยปทุมธานี.

จีรนันต์ ไชยงามนอกซ์, ภัทรีพันธุ์ พันธุ , และเลหล้า ตรีเอกานุกูล. (2559). “ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการท่องเที่ยวทางพระพุทธศาสนา”. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ ราชภัฏวิจัยครั้งที่ 4 , หน้า377-387. บุรีรัมย์: มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์.

ฉลองศรี พิมลสมพงษ์. (2550). การวางแผนและพัฒนาตลาดการท่องเที่ยว. (พิมพ์ครั้งที่ 6). กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

เฉลิมเกียรติ เฟื่องแก้ว. (2563). ประสบการณ์นักท่องเที่ยว แนวคิดและเครื่องมือสำหรับธุรกิจการท่องเที่ยว. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติครั้งที่ 9. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

ชนัญ วงษ์วิภาค. (2552). เอกสารประกอบการสอนวิชาการจัดการท่องเที่ยววัฒนธรรม. นครปฐม คณะวิทยาการจัดการและคณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ประเมศฐ์ พิชญ์พันธ์เดชา. (2561). การจัดการการท่องเที่ยวเชิงศาสนาของเกาะฮ่องกงที่มีอิทธิพลต่อนักท่องเที่ยวชาวไทย. วิทยานิพนธ์ ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต. สาขาวิชาการจัดการมรดกวัฒนธรรมและอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ปาริฉัตร อิ้งจะนิล. (2554). พฤติกรรมนักท่องเที่ยวชาวไทยต่อการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ในรูปแบบตลาดเก่า กรณีศึกษาตลาดคล้องสวน 100 ปี จังหวัดสมุทรปราการ. วิทยานิพนธ์ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต. สาขาการจัดการการท่องเที่ยว บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยขอนแก่น.

พรรณ์ธิดา เหล่าพวงศักดิ์. (2559). แนวทางการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงศาสนา เพื่อรองรับนักท่องเที่ยวกลุ่มประชาคมเกษียณ จังหวัดกาญจนบุรี. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยธนบุรี, 10 (21), 35-43.

พระสุธีรัตนบัณฑิต, และพระใบฎีกาสัญญา อภิวณฺโณ. (2559). ยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวทางพระพุทธศาสนาและวัฒนธรรมของไทยและอาเซียน. วารสาร มจร พุทธปัญญาปริทรรศน์, 1 (3), 7-24.

มนชนก จุลสิกขี. (2562). แนวทางการจัดการการท่องเที่ยวเชิงพุทธศาสนาวัดในพื้นที่ฝั่งธนบุรี. วารสารวิทยาการจัดการปริทัศน์, 21 (2), 203-213.

มูเตลูไทยแลนด์. (2562). มูเตลู. [ออนไลน์]. 12 มกราคม 2564. เข้าถึงได้จาก:https//muteluthailand. com/mutelu/.

ยโสธารา ศิริภาประภากร, สุทัศน์ ประทุมแก้ว และสุริยา คลังฤทธิ์. (2562). “การส่งเสริมด้านการท่องเที่ยว ตามเส้นทางแสวงบุญในมิติทางศาสนา กรณีการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมด้านศาสนา วัดโยธาประสิทธิ์ ตําบลนอกเมือง อําเภอเมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์”. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติครั้งที่ 6 มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

รายการส่องโลก. (2563). ปิดป่าภูลังกา3 (ถ้ำนาคา 2). [วีดีโอเผยแพร่ออนไลน์]. 12 มกราคม 2564. เข้าถึงได้จาก: https//www.youtube.com/watch?v=aK1mcxv_8Fc.

วงใน. (2563). 20 ที่ขอพรสายบุญ สายมู. [ออนไลน์]. 9 มกราคม 2564. เข้าถึงได้จาก: https//www.wongnai.com/ trips/ temple-for-praying-and-mutelu.

วัชระ ชัยเขต, ธิญาดา แก้วชนะ, ยุนิดา วิริโย และพล เหลืองรังษี. (2561). ปัจจัยในการเลือกแหล่งท่องเที่ยวผ่านสื่อสังคมออนไลน์ของนักท่องเที่ยว กรณีศึกษา ชุมชนท่องเที่ยวคลองแดน อําเภอระโนด จังหวัดสงขลา. วารสารหาดใหญ่วิชาการ, 16 (2), 171-190.

ศศิพิสิฐ นิวัธน์มรรคา. (2561). ความสัมพันธ์ของวิถีความเชื่อล้านนาและการท่องเที่ยวเชิงนิเวศประวัติศาสตร์ ในเขตเมืองเก่าเชียงใหม่. ใน การประชุมวิชาการและนําเสนอผลงานวิชาการระดับชาติครั้งที่ 2 มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย.

อรรถพงศ์ ศรีตะลาลัย และชวลีย์ ณ ถลาง. (2563). การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในด้านความเชื่อเรื่อง “พญานาค” ของนักท่องเที่ยวชาวไทยในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (จังหวัดอุดรธานี - จังหวัดหนองคาย - จังหวัดบึงกาฬ -จังหวัดนครพนม) ประเทศไทย. วารสารวิทยาลัยดุสิตธานี, 14 (1), 53-74.

Crompton, J. (1979). Motivations of pleasure vacations. Annals of Tourism Research, 6 (4), 408-424.

Dann, G. (1977). Anomie, ego-enhancement and tourism. Annals of Tourism Research, (4), 184-194.

Dickman, C.R. (1996). Overview of the Impacts of Feral Cats on Australian Native Fauna. Australian Nature Conservation Agency Canberra.

Kreiner, G. , & Wall, G. (2015) . Tourism and Religion Spiritual Journeys and Their Consequences. New York Springer.

MacCannell, D. (1976). The tourist A new theory of the leisure class. London University of California Press.

Taokaecafe. (2020). Praewa Amulet and Lucky Stone. [On-line]. January 9, 2021. Availabel: https//www.taokaecafe.com/sme-business-detail.asp?s=143.