ระบบงานสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์กับประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของ เจ้าหน้าที่เทศบาลตำบลตาพระยา อำเภอตาพระยา จังหวัดสระแก้ว

Main Article Content

Umaphon krajangmol

บทคัดย่อ

บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ประเมินประสิทธิภาพการใช้งานระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ของเจ้าหน้าที่เทศบาลตำบลตาพระยา อำเภอตาพระยา จังหวัดสระแก้ว 2) ศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการใช้ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ของเจ้าหน้าที่เทศบาลตำบลตาพระยา อำเภอตาพระยา จังหวัดสระแก้ว โดยกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้ คือเจ้าหน้าที่เทศบาลตำบลตาพระยา อำเภอตาพระยา จังหวัดสระแก้ว รวมจำนวนทั้งสิ้น 120 คน เป็นผู้ที่ปฏิบัติหน้าที่งานในด้านสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบสอบถามปลายปิด ส่วนสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย
ค่าร้อยละ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน


ผลการวิจัยผู้ที่เกี่ยวข้องพบว่า ข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถาม อายุ สถานภาพ ระดับการศึกษา และประสบการณ์ในการปฏิบัติงานไม่มีผลต่อประสิทธิภาพของการทำงาน ส่วนระบบงานสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์นั้นมีผลต่อการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ในด้านความเหมาะสม ด้านขั้นตอนและกระบวนการใช้งานสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ ในด้านปัญหา อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05


 


คำสำคัญ: ประสิทธิภาพ,งานสารบรรณ,ระบบงานสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์,เทศบาลตำบลตาพระยา

Article Details

How to Cite
krajangmol, U. (2024). ระบบงานสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์กับประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของ เจ้าหน้าที่เทศบาลตำบลตาพระยา อำเภอตาพระยา จังหวัดสระแก้ว. วารสารการบริหารและการจัดการธุรกิจยุคใหม่สู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน, 2(1), 56–64. สืบค้น จาก https://so19.tci-thaijo.org/index.php/JMMSD/article/view/318
บท
บทความวิจัย

References

ชาญณรงค ศิริสุขโภคา. (2558). การศึกษาการรับรู พฤติกรรมการทำงาน และความเชื่อมั่นในความสามารถของระบบงานสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ ที่มีผลตอประสิทธิผลในการทำงานของพนักงานในองคกรรัฐวิสาหกิจแห่งหนึ่งในเขตกรุงเทพมหานคร. หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต . กรุงเทพฯ :มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.

เดชา สุพรรณทอง. (2548). การศึกษาสภาพปจจุบัน สภาพที่ยอมรับได้ และความคาดหวังตอการใชระบบสารบรรณ

ทัศนีย์ แกวขวัญ. (2555). ปญหาและอุปสรรคการนำระบบงานสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ (e-office) มาใชในการปฏิบัติงานของกรมศุลกากร : กรณีศึกษาดานศุลกากรในพื้นที่อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา. สารนิพนธรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต. สงขลา : มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร.

ธวัตถวงศ พิทักษธรรม. (2551). ปญหาและอุปสรรคในการปฏิบัติงานตามนโยบายการใหสินเชื่อเพื่อธุรกิจ SMEs ของธนาคารแหงประเทศไทย กรณีศึกษา : ธนาคารไทยพาณิชย สาขาในจังหวัดสงขลา. สารนิพนธ รัฐประศาสนศาสตร์มหาบัณฑิต สาขา วิชารัฐประศาสนศาสตร์. สงขลา : มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร.

ปริศนา มัชฌิมา และคณะ. (2555). พฤติกรรมและประสิทธิภาพการใชระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ (e-Office) ของมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต. คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร์ . กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต.

มนทิรา เชิดชู. (2551). ความสำเร็จในการใชระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ของกรมศุลกากร. การคนคว้าอิสระคณะ รัฐประศาสนศาสตร์ . กรุงเทพฯ : สถาบันบัณฑิตพัฒนาบริหารศาสตร์.

ราชกิจจานุ เบกษา. (2548). ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีวาด้วยงานสารบรรณ (ฉบับที่ 1) พ.ศ.2526 และ (ฉบับที่ 2)

พ.ศ. 2548 (ฉบับประกาศและงานทั่วไป) เล่ม 2 ตอน พิเศษ 99ง.กรุงเทพฯ : คณะรัฐมนตรี และราชกิจจานุ เบกษา.

รุงระวี ศรีพลอย. (2553). การนำระบบงานสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ (e-Office) มาใชในการปฏิบัติงานสารบรรณของสำนักบริหารทรัพยากรบุคคล สำนักบริหารกลาง และ สำนักงานศุลกากรกรุงเทพ.สารนิพนธคณะรัฐประศาสนศาสตร์ . กรุงเทพฯ : สถาบันบัณฑิตพัฒนาบริหารศาสตร์.

วิโรจน ยิมขลิบ, และ ปิยวรรณ สีเชียง. (2555). ปัจจัยที่มีผลต่อความพึงพอใจสำหรับการใชงานระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์. คณะอุตสาหกรรมสิงทอและออกแบบแฟชั่น. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร.

อรอนงค คำยอง. (2554). ปัจจัยที่มีผลตอการใชระบบงานสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ ของบุคลากรมหาวิทยาลัยแม่โจ้.วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการจัดการ. เชียงใหม่ : มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

Cronbach, L. J. (1990). Essentials of psychological testing (5th ed.). New York : Harper Collins Publishers. ( pp.202-204)