ผลกระทบจากการปฏิบัติงานและมารยาทของมัคคุเทศก์ในสังคมยุคปกติใหม่
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความวิชาการฉบับนี้ มีวัตถุประสงค์ในการนำเสนอ การส่งเสริมความเข้าใจเกี่ยวกับผลกระทบจากการปฏิบัติงานและมารยาทของมัคคุเทศก์ในสังคมยุคปกติใหม่ เนื่องด้วยมัคคุเทศก์เปรียบเสมือนตัวแทนหรือผู้ทรงอิทธิพลของประเทศที่อยู่ใกล้ชิดกับนักท่องเที่ยวเป็นผู้ที่คอยให้ข้อมูล ความรู้ความเพลิดเพลินและการสันทนาการ เพื่อเป็นประโยชน์ต่ออุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและประเทศชาติ โดยมีบทบาทสำคัญในการสร้างประสบการณ์ทางการท่องเที่ยวและความสัมพันธ์กับนักท่องเที่ยว รวมถึงประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานและมารยาทที่ดีซึ่งช่วยสร้างความสำเร็จส่วนบุคคลและภาพลักษณ์ต่อการท่องเที่ยวของประเทศ ดังนั้นหากมีการพัฒนาการปฏิบัติงานและมารยาทในยุคสังคมปกติใหม่จะส่งผลให้การมีปฏิสัมพันธ์กับนักท่องเที่ยวเป็นไปอย่างราบรื่นและประสบผลสำเร็จซึ่งเป็นส่วนหนึ่งในการเผยแพร่ขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีงามและความเป็นเอกลักษณ์ของแหล่งท่องเที่ยวกับอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและระบบเศรษฐกิจของประเทศชาติ
Article Details

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
Copyright (c) 2017 Journal of Modern Business Administration and Management for Sustainable Development (วารสารการบริหารและการจัดการธุรกิจยุคใหม่สู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน)
References
กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. (2563). โควิด-19 กับผลกระทบต่อการท่องเที่ยวไทย. กรุงเทพฯ : กระทรวงการท่องเที่ยว
และกีฬา.
การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย. (2563). แผนดำเนินงานโครงการมาตรฐานความปลอดภัยด้านสุขอนามัย (Amazing Thailand
Safety and Health Administration: SHA). กรุงเทพฯ : การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย.
ณรงค์ฤทธิ์ ญัตติอัครวงศ์. (2563). ปัญหาการบังคับใช้กฎหมายว่าด้วยธุรกิจนำเที่ยวและมัคคุเทศก์ : ศึกษากรณีการคุ้มครอง
นักท่องเที่ยว. รายงานวิจัย มหาวิทยาลัยศรีปทุม
นฤมล อนุสนธิ์พัฒน์. (2563). การปรับตัวทางเศรษฐกิจด้านการท่องเที่ยวในสภาวะวิกฤตโควิด 19 ในประเทศไทย.
พระนครศรีอยุธยา : มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา.
ศูนย์แห่งความเป็นเลิศด้านการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน. (2563). คู่มือเพื่อสนับสนุนเศรษฐกิจและแรงงานผ่านการท่องเที่ยว
แนวปฏิบัติในการเยียวยาสังคมและเศรษฐกิจที่ได้รับผลกระทบจากการระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19 รวมถึง
การฟื้นฟูการท่องเที่ยวให้กลับคืนอย่างเร่งด่วน. กรุงเทพฯ : องค์การบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการ
ท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน.
สมาคมมัคคุเทศก์อาชีพแห่งประเทศไทย. (2566). สมาคมมัคคุเทศก์อาชีพแห่งประเทศไทย. สืบค้นเมื่อ 8 มีนาคม พ.ศ. 2566
จากสมาคมมัคคุเทศก์อาชีพแห่งประเทศไทย http://pgathaiguides.blogspot.com/.
สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย. (2564). วิเคราะห์ผลกระทบของของโควิด-19 ต่อธุรกิจท่องเที่ยว. กรุงเทพฯ :
สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย.
สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์. (2563). สถานการณ์การท่องเที่ยวในวิกฤต COVID-19. กรุงเทพฯ : สำนักงาน
ส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์.
สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์. (2563). อนาคตของการท่องเที่ยวอยู่ตรงไหนในยุคโควิด-19. กรุงเทพฯ : สำนักงาน
ส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์.
สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี. (2563). แนวทางป้องกันโควิด-19 สำหรับชุมชนท่องเที่ยว. กรุงเทพฯ : สำนักเลขาธิการ
นายกรัฐมนตรี.
อรพรรณ ปถมเล็ก. (2563). ธรรมชาติเชิงวิพากษ์ : การท่องเที่ยวชุมชนในประเทศไทย: ผลกระทบและการ ฟื้นฟูจากการ
ระบาดของโรค COVID-19. กรุงเทพฯ : ศูนย์ศึกษาเพื่อการพัฒนาสังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
Ababneh, A. (2018). Tour guides and heritage interpretation: guides’ interpretation of the past at the archaeological
site of Jarash, Jordan. Journal of Heritage Tourism, 13(3), 257–272.
Buonincontri, Piera, Alfonso Morvillo, Fevzi Okumus, and Mathilda van Niekerk. (2017). Managing the
experience co-creation process in tourism destinations: Empirical findings from Naples. Tourism
Management 62 (2017): 264-277.
Cetin, G., & Yarcan, S. (2017). The professional relationship between tour guides and tour operators.
Scandinavian Journal of Hospitality and Tourism, 1–13.
Divisekera, S. & Nguyen, V. K. (2018). Determinants of innovation in tourism evidence from Australia.
Tourism Management, 67, 157-167.
He, Z. et al. (2018). When art meets tech: The role of augmented reality in enhancing museum
experiences and purchase intentions. Tourism Management, 68, 127- 139.
Kuo, N.-T., Cheng, Y.-S., Chang, K.-C., & Chuang, L.-Y. (Lily). (2018). The Asymmetric Effect of Tour Guide
Service Quality on Tourist Satisfaction. Journal of Quality Assurance in Hospitality & Tourism, 19(4), 521–542.
Novio-Marco, J. et al. (2018). Progress in information technology and tourism management: 30 years on
and 20 years aft er the internet- Revisiting buhalis & law’s landmark study about e-tourism.
Tourism Management, 69, 460-470.
Pacific Asia Travel Association. (2020). PATA Conducts “The Future of Tourism” Interview Series to
Provide COVID-19 Recovery Insights. Bangkok: PATA.
World Tourism Organization. (2020). COVID-19 Related Travel Restrictions. Madrid: UNWTO.
Yu, X. (2017). The Significance and Role of Tour Guide Association in China—Under the Background of
Tourism Law. Journal of Service Science and Management, 10(2).
Zach, F. J., & Hill, T. L. (2017). Network, knowledge and relationship impacts on innovation in tourism
destinations. Tourism Management, Vol. 62, pp. 196-207.