การศึกษาการผลิตและการตลาดโคเนื้อเพื่อยกระดับสู่การเกษตรมูลค่าสูง

ผู้แต่ง

  • สุกัญญา ชาญเชี่ยว คณะเทคโนโลยีการจัดการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์
  • กิระลักษณ์ ชุติกาญจน์กุลศิริ คณะเทคโนโลยีการจัดการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์
  • ฉัตริน ซ่อนกลิ่น คณะเทคโนโลยีการจัดการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์
  • สุรเกียรติ ปริชาตินนท์ คณะเทคโนโลยีการจัดการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์
  • กมลทิพย์ ปริชาตินนท์ คณะเทคโนโลยีการจัดการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์
  • ภรณี หลาวทอง คณะเทคโนโลยีการจัดการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์

คำสำคัญ:

โคเนื้อ, เกษตรมูลค่าสูง, เกษตรแปลงใหญ่, ห่วงโซ่อุปทาน

บทคัดย่อ

“โคเนื้อ” เป็นอุตสาหกรรมที่กำลังเติบโตอย่างต่อเนื่อง แม้จะมีมูลค่าการส่งออกไม่สูงเมื่อเทียบกับอุตสาหกรรมทางการเกษตรประเภทอื่นๆ แต่ตลาดการบริโภคในไทยก็นับว่ากำลังคึกคัก บทความนี้
มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการผลิตและการตลาดโคเนื้อเพื่อเป็นแนวทางในการยกระดับเกษตรมูลค่าสูง
ในอุตสาหกรรมโคเนื้อเพื่อเป็นการสร้างความเข้มแข็งและเพิ่มมูลค่าในอุตสาหกรรมโคเนื้อ จากการสืบค้นงานวิจัย บทความ และนโยบายต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการผลิตและการตลาดในอุตสาหกรรมโคเนื้อ จะพบ
การบริหารจัดการและการไหลเวียนของระบบในรูปแบบของ ห่วงโซ่อุปทาน 3 ระดับคือ ต้นน้ำ กลางน้ำ และปลายน้ำ และมีระบบการบริหารโลจิสติกส์ ภายใต้ 3 ประเด็นคือการจัดส่งวัตถุดิบ การผลิต
และการกระจายสินค้า โดยมุ่งเน้นให้เกิดประสิทธิภาพการไหลเวียนที่ไม่สะดุด จากการเก็บรวบรวมข้อมูลและการวิเคราะห์อย่างเป็นระบบจากบทความวิชาการและบทความวิจัยซึ่งได้นำไปสู่การเสนอแนวทาง
ในการผลิตและการตลาดโคเนื้อเพื่อยกระดับสู่เกษตรมูลค่าสูงได้ แนวทางเชิงกลยุทธ์ “4 Good” ประกอบด้วย 1) Good Connection Agricultural การเชื่อมต่อแบบการเกษตรแปลงใหญ่
2) Good Quality and Value Added การยกระดับคุณภาพและการเพิ่มมูลค่า 3) Good Agri Tech Farming การส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีเกษตรและเพิ่มพูนองค์ความรู้ 4) Good Funding การเข้าถึง
แหล่งเงินทุนที่ดี โดยคณะผู้เขียนคาดหวังว่าหากเกษตรกรโคเนื้อดำเนินการตามแนวทางเชิงกลยุทธ์ดังกล่าวแล้วจะสามารถช่วยให้กระบวนการผลิตและการตลาดมีการพัฒนาศักยภาพทำให้เกิดการสร้างมูลค่า
กับผลผลิตให้เกิดการเกษตรมูลค่าสูงได้ในยุคปัจจุบัน

Downloads

Download data is not yet available.

References

กรมปศุสัตว์. (2566). รายงานประจำปีสถิติการปศุสัตว์ประเทศไทย. กรุงเทพฯ : กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. https://dld.go.th/th/index.php/th/

กรมส่งเสริมการเกษตร. (2560). แผนยุทธศาสตร์ส่งเสริมการเกษตร ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560- 2579) และ แผนปฏิบัติงาน ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2560 - 2564), 7- 84.

กรมส่งเสริมการเกษตร. (2567). กรมส่งเสริมเกษตร พร้อมขับเคลื่อน แม่ฮ่องสอนโมเดลให้ได้ตามเป้า 2570 เพิ่มรายได้เกษตรกร 3 เท่าได้จริง. https://www.doae.go.th/กรมส่งเสริมการเกษตร-พร4/

กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. (2559). แผนพัฒนาการเกษตรในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2564). (สืบค้น 8 เมษายน 2563)

กระทรวงอุตสาหกรรม. (2559). ยุทธศาสตร์การพัฒนาอุตสาหกรรมไทย 4.0 ระยะ 20 ปี (พ.ศ.2560-2579).

กำธร แจ่มจำรัส, นันทนิธิ์ เอิบอิ่ม, ญาณิศา เผื่อนเพาะ, และ ฤดี เสริมชยุต. (2565). การยกระดับและเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ของฝากของที่ระลึกของแหล่งท่องเที่ยวสัมผัสเสน่ห์วิถีชีวิตเมืองกรุงเก่าจังหวัดพระนครศรีอยุธยา. วารสารศิลปการจัดการ, 6(3), 1585-1603.

คณะกรรมการธุรกิจปศุสัตว์และแปรรูป สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย. (2566). การขับเคลื่อนการเลี้ยงโคเนื้อตลอดห่วงโซ่อุปทาน (Supply Chain). คณะกรรมการธุรกิจปศุสัตว์และแปรรูป สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย. https://www.thaichamber.org/news/view/87/2583-การขับเคลื่อนการเลี้ยงโคเนื้อตลอดห่วงโซ่อุปทาน (Supply Chain)

ญาณิน โอภาสพัฒนกิจ, และ จุฑารัตน์ เศรษฐกุล. (2548). สถานภาพการผลิตและการตลาดเนื้อโคของประเทศไทย. รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการสถานภาพการผลิตและการตลาดเนื้อโคของประเทศไทย. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย, กรุงเทพฯ. http://tarr.arda.or.th/static2/docs/development_plan2559.pdf.

ประสาท เกศวพิทักษ์. (2559). ประเทศไทย 4.0 กับอนาคตเกษตรไทย. วารสารดินและปุ๋ย, 38(1-4), 23-31.

พิมพ์จันทร์ หวลอารมณ์. (2559). การสร้างมูลค่าเพิ่มผลผลิตปศุสัตว์ด้วยเทคโนโลยีแปรรูปอาหาร. กรมปศุสัตว์. https://royal.dld.go.th/webnew/images/ungkarn/au/17032565-K1.pdf

เพชรดา จันอ้วน, และ ยศ บริสุทธิ์. (2565). การเป็นผู้ประกอบการเกษตร:อาชีพที่ท้าทายของคนรุ่นใหม่ X,YและZ Generations. วารสารวิจัยและพัฒนาอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง (ออนไลน์),1(1), 82 - 98.

ศูนย์เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการเกษตร. (2567, 29 มกราคม). เซียนบีฟ แพลตฟอร์มการบริหารจัดการข้อมูลฟาร์มโคเนื้ออย่างเป็นระบบเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการฟาร์มอย่างมีมาตรฐาน. Gosmartfarmer. https://www.gosmartfarmer.com/innovation/30660

สำนักข่าวไทยแลนด์พลัส ออนไลน์. (2563, 15 กรกฎาคม) ธ.ก.ส. ร่วมลงนามโครงการขับเคลื่อนการพัฒนาเศรษฐกิจชีวภาพเศรษฐกิจหมุนเวียน และเศรษฐกิจสีเขียว (ฺBCG โมเดล). สำนักข่าวไทยแลนด์พลัส ออนไลน์. https://www.thailandplus.tv/archives/

สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ. (2567, 4 กุมภาพันธ์). จับตากระแสการลงทุนสตาร์ทอัพเกษตรทั่วโลกและไทยตอบโจทย์แก้ วิกฤตภาคเกษตร. สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน). https://www.nia.or.th/AgTech-Startups-DeepTech-Investment-2023

สำนักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์. (2567). ยุทธศาสตร์ที่ 2 เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและยกระดับมาตรฐาน ตัวอย่างเล่มแผน, 66-70. https://www.opsmoac.go.th/bpsp-dwl-files-441191791050.

สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2560, 28 มิถุนายน). ขับเคลื่อนแผนฯ 12สู่อนาคตประเทศไทย. สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. https://www.nesdc.go.th/ewt_news.php?nid=6746&filename=index

stCraft Team. (2563). Supply Chain คืออะไร? อุตสาหกรรมควรประยุกต์ใช้แบบไหน?. 1stCraft. https://1stcraft.com/th/what-is-supply-chain/#.

Guanasekaran, A. (1999). Agile manufacturing: A framework for research and development. International Jouurnal of Production Economics, 62, 1-2, 87-105.

Huang and Sheu. (2005).DEVISING AN EFFICIENT BEEF SUPPLY CHAIN: ALIGNMENT OF PRODUCT AND FUNCTIONS, 16-17.

Miller, D. (1983). The Correlates of Entrepreneurship in Three Types of Firms. Management Science, 29(7), 770-791.

Ministry of Agriculture and Cooperatives. (2016). Operation Manual for Large- Scale Agricultural Extension Systems. Retrieved January 8, 2019, from http://www.oic.go.th/

FILEWEB/CABINFOCENTER3/DRAWER057/GENERAL/DATA0000/00000233.PDF

Ojanpera, M.Y. et. (2019). Adapting an agile manufacturing concept to the reference architecture model industry 4.0: A survey and case study. Journal of Industrial Information Integration, 15, 147-160.

Report. (2565, 4 พฤษภาคม). สุมิพลฯ เปิดศักราชใหม่มุ่งสู่ “องค์กรแห่งเทคโนโลยี – Agile Technology htt[s://www.mreport.co.th/experts/business-and-management/216-Sumipol-Agile-Technology-by-Thongpol-Oulapathorn-SIMTec

Downloads

เผยแพร่แล้ว

15-11-2024