การวิจัยเรื่องการศึกษาผลการส่งงานโดยใช้ตัวปั๊มเสริมแรง รายวิชาเศรษฐศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนหนองโตง “สุรวิทยาคม”
คำสำคัญ:
การพัฒนาผลการเรียนรู้, การเสริมแรง, พฤติกรรมบทคัดย่อ
การพัฒนาผลการเรียนรู้ครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาผลของการเสริมแรงโดยการใช้ตัวปั๊มที่มีต่อพฤติกรรมส่งงานของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3/2 จำนวน 31 คน โรงเรียนหนองโตง"สุรวิทยาคม" อำเภอเมือง จังหวัดสุรินทร์ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 1 ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 ด้วยการสุ่มแบบเจาะจง (Purposive Sampling)โดยหน่วยการสุ่ม คือ ห้องเรียน
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ 1) แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง สินค้าและบริการในชีวิตประจำวัน 2) การวิเคราะห์ข้อมูล สถิติที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้ใช้ ค่าเฉลี่ย ( X ) , ค่าร้อยละ (%) และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.)
Downloads
References
กฤษณา ศักดิ์ศรี. (2530). จิตวิทยาการศึกษา. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์นิยมวิทยา.
ดรุณนภา นาชัยฤทธิ์. (2562). การพัฒนาการเรียนการสอนบนบทเรียนออนไลน์ด้วยเทคนิคการเรียนรู้แบบกรณีศึกษาเพื่อส่งเสริมการคิดแก้ปัญหาของนักศึกษาครู [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.
ทัศนีย์ กิติวินิต. (2540). ปัจจัยที่ที่มีอิทธิพลต่อความรับผิดชอบในการทำงานของพนักงาน. กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.
ประวัติ เอราวรรณ์. (2542). การวิจัยในชั้นเรียน. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ดอกหญ้าวิชาการ จำกัด.
พรนภิส ดาราสว่าง. (2545). การสร้างบรรยากาศในห้องเรียนที่ช่วยให้เกิดการเรียนรู้ [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี.
พวงทอง ป้องภัย. (2540). พฤติกรรมศาสตร์เบื้องต้น [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี.
สุวิมล ว่องวาณิช. (2525). การวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.