การมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาชุมชนบ้านนาดี ตำบลหนองระฆัง อำเภอสนม จังหวัดสุรินทร์

ผู้แต่ง

  • ปรัชญา พุดชู มณฑลทหารบกที่ 25 ค่ายวีรวัฒน์โยธิน เลขที่ 777 ม.20 ต.นอกเมือง อ.เมืองสุรินทร์ จ.สุรินทร์ ไปรษณีย์ 32000
  • แพรววนิต ยลถวิล ต.ท่าสว่าง อ.เมืองสุรินทร์ จ.สุรินทร์ 32000

คำสำคัญ:

การมีส่วนร่วม, ส่วนรวมในชุมชน, การพัฒนาชุมชน

บทคัดย่อ

การศึกษาวิจัยเรื่อง การมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาชุมชนบ้านนาดี ต.หนองระฆัง อ.สนม จ.สุรินทร์ มีวัตถุประสงค์1) เพื่อศึกษาการมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาชุมชนบ้านนาดี ต.หนองระฆัง อ.สนม จ.สุรินทร์ อยู่ในระดับใด 2) เพื่อศึกษาการมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาชุมชนบ้านนาดี ต.หนองระฆัง อ.สนม จ.สุรินทร์ เป็นอย่างไร 3) เพื่อศึกษาการมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาชุมชนบ้านนาดี ต.หนองระฆัง อ.สนม จ.สุรินทร์ การศึกษาครั้งนี้โดยผู้วิจัยเลือกใช้วิธีการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) ที่มีรูปแบบของการวิจัยเชิงสำรวจ(Survey Research) เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวมรวบข้อมูลเป็นแบบสอบถาม กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาคือ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาวิจัยในครั้งนี้ ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ ชุมชนบ้านนาดี ต.หนองระฆัง อ.สนม จ.สุรินทร์ มีประชาชน ทั้งหมด จำนวน 587 คน โดยใช้วิธีการสุ่ม จาก ตารางเคอชื่มอแกน ได้กลุ่มอย่าง จำนวน 400 คน โดยใช้แบบสอบถามประเภททั่วไปในการเก็บรวบรวมข้อมูล เพื่อให้ได้ข้อมูลที่ครบถ้วนที่สุด

          ผลการวิจัย ผลการศึกษาข้อมูลการมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาชุมชนบ้านนาดีด้านการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของ ข้อมูลการมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาชุมชนบ้านนาดี ผลรวมคือ (  = 4.21) ด้านการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจอยู่ในระดับ ปานกลาง ด้านการมีส่วนร่วมในการดำเนินงาน อยู่ในระดับ มาก ด้านการมีส่วนร่วมในการรับผลประโยชน์คำเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของ ข้อมูลการมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาชุมชนบ้านนาดี ด้านการมีส่วนร่วมในการรับผลประโยชน์ผลรวมคือ อยู่ในระดับ มากด้านการมีส่วนร่วมในการประเมินผล ค่าเฉลี่ยและส่วนเบียงเบนมาตรฐานของ ข้อมูลการมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาชุมชนบ้านนาดี การมีส่วนร่วมในการประเมินผล อยู่ในระดับ มาก

Downloads

Download data is not yet available.

References

ชม ภูมิภาค. (2556). การศึกษาเพื่อพัฒนาชีวิตและสังคม. กรุงเทพฯ: สมาคม การศึกษาแห่งประเทศไทย.

ธงชัย สันติวงษ์. (2563). ทฤษฎีการจูงใจ (พิมพ์ครั้งที่ 9). กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิชจำกัด.

นพพงษ์ บุณจิตราดุลย์, (2559). หลักการบริหารการศึกษา. กรุงเทพฯ: ศูนย์การพิมพ์.

ปรียาพร วงศ์อนุตรโรจน์. (2558). จิตวิทยาอุตสาหกรรม. กรุงเทพฯ: ศูนย์สื่อเสริม.

พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตโต). (2563). การเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ธรรมสภาและสถาบันบันลือธรรม.

พระธรรมปีฎก (ป.อ. ปยุตโต). (2564). การมีส่วนร่วมของผู้ปกครองในการจัดการศึกษาคณะสงฆ์ (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ: มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พระมหาทองมี สุทธิจิตโต (สะพานหล้า). (2564). การปฏิบัติงานของพนักงานการไฟฟ้านครหลวง ตามหลักอิทธิบาท 4 : กรณีศึกษา การไฟฟ้านครหลวง เขตวัด เลียกรุงเทพมหานคร [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พุทธทาสภิกขุ. (2563). คู่มือมนุษย์ (ฉบับสมบูรณ์). กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์ธรรมสภา.

ยุวัฒน์ วุฒิเมธี. (2566). หลักการพัฒนาชุมชนและการพัฒนาชนบท. กรุงเทพฯ: ห้างหุ้นส่วนจำกัด นิติบุคคลไทยอนุเคราะห์ไทย.

ราชบัณฑิตยสถาน. (2561). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2542 (พิมพ์ครั้งที่ 6). กรุงเทพฯ: บริษัทนานมีบุ๊คส์พับลิเคชั่นส์ จำกัด.

สถาบันพระปกเกล้า. (2560). เทคนิคการมีส่วนร่วมของประชาชนและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง. กรุงเทพฯ: สำนักวิจัยและพัฒนาสถาบันพระปกเกล้า.

อคิน ระพีพัฒน์. (2557). การมีส่วนร่วมของชุมชนในการพัฒนาชนบทในสภาพสังคมและ วัฒนธรรมไทย. นครปฐม: มหาวิทยาลัยมหิดล.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

08-10-2024