การมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนในการเลือกตั้งสมาชิกองค์การบริหารส่วนตำบลของหมู่บ้านสลักได ตำบลสลักไดอำเภอเมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์
คำสำคัญ:
การมีส่วนร่วม, ทางการเมือง, ของประชาชนบทคัดย่อ
การมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนในการเลือกตั้งสมาชิกองค์การบริหารส่วนตำบลของหมู่บ้านสลักได ตำบลสลักได อำเภอเมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์ มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1. เพื่อศึกษาระดับการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนในการเลือกตั้งสมาชิกองค์การบริหารส่วนตำบลของหมู่บ้านสลักได ตำบลสลักได อำเภอเมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์ 2. เพื่อศึกษาเปรียบเทียบการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนในการเลือกตั้งสมาชิกองค์การบริหารส่วนตำบลของหมู่บ้านสลักได ตำบลสลักได อำเภอเมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์ 3. เพื่อศึกษาปัญหาและแนวทางการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนในการเลือกตั้งสมาชิกองค์การบริหารส่วนตำบลของหมู่บ้านสลักได ตำบลสลักได อำเภอเมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์ โดยในการวิจัยในครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบผสานวิธี (Mixed Research Method) โดยประกอบด้วยการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) เก็บข้อมูลภาคสนาม (Field Study) จากประชาชนในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นหมู่บ้านสลักได ตำบลสลักได อำเภอเมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์ จำนวน 329 คน โดยใช้แบบสอบถาม (Questionnaire) เป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล ลักษณะของแบบสอบถามเป็นทั้งปลายเปิด และปลายปิด ผู้วิจัยได้ วิเคราะห์ข้อมูลที่ได้โดยหาค่าความถี่ (Frequency), ค่าร้อยละ (Percentage), ค่าเฉลี่ย (Mean) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)ทดสอบสมมติฐานโดยการ ทดสอบค่าเอฟ (FTest) และ วิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-Way ANOVA)
Downloads
References
กรมพัฒนาชุมชน. (2527). คู่มือนักพัฒนาเรื่องการจัดกระบวนการเรียนรู้แบบมี (พิมพ์ครั้งที่ 20). กรุงเทพฯ: บางกอกบล็อก.
โกวิทย์ พวงงาม. (2544). การปกครองท้องถิ่นไทย หลักการและมิติใหม่ในอนาคต. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์วิญญูชน.
จมส์ แอล. เครย์ตัน. (2551). คู่มือการมีส่วนร่วมของประชาชนการตัดสินใจที่ดีกว่าโดยให้ชุมชนมีส่วนร่วม. ขอนแก่น: โรงพิมพ์ศิริภัณฑ์ออฟเซ็ท
พานิช และ กุลธน ธนาพงศธร. (2532). การมีส่วนร่วมของประชาชนในการ (พิมพ์ครั้งที่ 3). นนทบุรี: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
ทองใบ สุดชารี. (2543). ทฤษฎีองค์การวิเคราะห์แนวความคิดทฤษฎีและการประยุกต์. กรุงเทพฯ: คณะวิทยาการจัดการ. มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี.
บวรศักดิ์ อุวรรณโณ. และถวิลวดี บุรีกุล. (2548) ประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วม ParticipatoryDemocracy. กรุงเทพมหานคร: สถาบันพระปกเกล้า.
ระกอบ กรรณสูต. (2542). สถิติเพื่อการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์. กรุงเทพฯ: ด่านสุทธาการพิมพ์.
ปทิดา ปานเนตรแก้ว. (2550). การมีส่วนร่วมของประชาชนต่อการบริหารงานพัฒนาท้องถิ่นขององค์การ บริหารส่วนตำบลสวนหลวง อำเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์]. วิทยาลัยการปกครองท้องถิ่น:มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
ชรวรรณ พันธ์แตง. (2551). แนวทางการพัฒนากระบวนการจัดทำแผนพัฒนาเทศบาล ตำบลบางนมโค. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี.
พระมหาประกาศิต สิริเมโธ ฐิติปสิทธิกร. (2556). การมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาหมู่บ้าน เศรษฐกิจพอเพียงของชุมชนบ้านคลองใหม่ อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระธวัชชัย สนติธมฺโม (วรรณนาวิน). (2561). การมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาชุมชนในเขตเทศบาลเมืองสระแก้ว จังหวัดสระแก้ว. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
รัฐพงศ์ บุญญานุวัตร. (2552). การมีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชนของประชาชนเขตดุสิตกรุงเทพมหานคร. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.
วัชรีย์ ศรีวิชัย. (2554). การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีของเทศบาลตำบลใน อำเภอเกาะคาจังหวัดลำปาง. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
สุธาวี กลิ่นอุบล. (2562). การศึกษาการมีส่วนร่วมของชุมชนต่อความสำเร็จในการพัฒนาชุมชนวทางปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง บ้านหัวเขาจีน ตำบลห้วยยางโทปากท่อ จังหวัดราชบุรี. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยศิลปากร.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.