วารสารการบริหารและการจัดการธุรกิจยุคใหม่สู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน https://so19.tci-thaijo.org/index.php/JMMSD <p><strong>วารสารการบริหารและการจัดการธุรกิจยุคใหม่สู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน</strong></p> <p><em><strong>กำหนดการออก</strong></em> : ปีละ 3 ฉบับ คือ มกราคม – เมษายน,พฤษภาคม – สิงหาคม และ กันยายน – ธันวาคม</p> <p><em><strong>นโยบายและขอบเขตการพิมพ์</strong></em> : เปิดรับบทความวิจัย (Research Article) และบทความวิชาการ (Academic Article) ด้านบริหารธุรกิจ เช่น การจัดการ การตลาด โลจิสติกส์ บริหารทรัพยากรมนุษย์ ผู้ประกอบการ คอมพิวเตอร์ธุรกิจ การจัดการธุรกิจดิจิทัล การบัญชี การเงิน การธนาคาร การท่องเที่ยว-โรงแรม เศรษฐศาสตร์ เปิดรับทั้งบทความภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ประเมินคุณภาพจากผู้ทรงคุณวุฒิ (Peer Review) จำนวน 3 ท่าน ตามที่กองบรรณาธิการคัดสรรก่อนลงตีพิมพ์</p> en-US <p>This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.<br />Copyright (c) 2017 Journal of Modern Business Administration and Management for Sustainable Development <a title="วารสารการบริหารและการจัดการธุรกิจยุคใหม่สู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน" href="https://so19.tci-thaijo.org/index.php/JMMSD/index" target="_blank" rel="noopener">(วารสารการบริหารและการจัดการธุรกิจยุคใหม่สู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน)</a></p> jmmsd.fmsrbru@rbru.ac.th (กองบรรณาธิการ) chaiwit.th@gmail.com (ผู้ช่วยศาสตราจารย์ชัยวิทย์ ถิระวณัฐพงศ์) Fri, 30 Aug 2024 12:45:12 +0700 OJS 3.3.0.8 http://blogs.law.harvard.edu/tech/rss 60 A ความเชื่อ ความศรัทธา ผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น กับการท่องเที่ยวเชิงจิตวิญญาณ https://so19.tci-thaijo.org/index.php/JMMSD/article/view/353 <p>บทความนี้ วิชาการฉบับนี้ มีวัตถุประสงค์ในการศึกษาถึงแนวคิด และทฤษฎีของการท่องเที่ยวเชิงจิตวิญญาณเป็นรูปแบบหนึ่งของการเดินทางที่เกี่ยวข้องกับการค้นหาจุดมุ่งหมายของชีวิต และการเดินทาง เพื่อการค้นพบตนเอง การพัฒนา การท่องเที่ยวเชิงจิตวิญญาณ ความเชื่อ ความศรัทธา เป็นสิ่งที่มีความสำคัญในการสร้างความเป็นเอกลักษณ์ และเป็นการสร้างความยั่งยืนในการท่องเที่ยวอีกประการหนึ่ง การท่องเที่ยวเชิงจิตวิญญาณนี้ ส่วนมากมักจะเป็นกิจกรรมทางศาสนาและความเชื่อท้องถิ่น อีกทั้งการส่งเสริมให้ผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น หรือวัตถุมงคลให้เป็นที่รู้จักอย่างแพร่หลายในกลุ่มนักท่องเที่ยวที่มีความเชื่อ ความศรัทธา และต้องการสิ่งยึดเหนี่ยวจิตใจ ซึ่งเป็นอีกแนวทางในการเพิ่มรายได้ให้กับชุมชนหรือท้องถิ่นนั้น ๆ รวมทั้งเป็นกระบวนการสร้างความเข้าใจ และความเคารพต่อวัฒนธรรมทางศาสนา โดยให้คนในชุมชนมีส่วนร่วมกับกิจกรรมต่าง ๆ กับนักท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน ซึ่งการพัฒนานี้ สอดคล้องกับแนวทางการท่องเที่ยวเชิงจิตวิญญาณของประเทศไทย และมีศักยภาพในการเสริมสร้างความสัมพันธ์ระหว่างชุมชนต่อนักท่องเที่ยวทั้งชาวไทย และชาวต่างประเทศให้เป็นจุดหมายปลายทางของการท่องเที่ยวในอนาคตต่อไป</p> ธนิดา จอมยิ้ม Copyright (c) 2024 วารสารการบริหารและการจัดการธุรกิจยุคใหม่สู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0 https://so19.tci-thaijo.org/index.php/JMMSD/article/view/353 Fri, 30 Aug 2024 00:00:00 +0700